พร็อกซิมาคนครึ่งม้า (อังกฤษ : Proxima Centauri ) คือดาวแคระแดง ในกลุ่มดาวคนครึ่งม้า ที่อยู่ห่างจากระบบสุริยะของเราในระยะประมาณ 4.2 ปีแสง ค้นพบโดยโรเบิร์ต อินเนส ผู้อำนวยการหอดูดาวยูเนียน ในแอฟริกาใต้เมื่อปี พ.ศ. 2458 ได้ชื่อว่าเป็นดาวฤกษ์ ดวงที่อยู่ใกล้ระบบสุริยะ มากที่สุดเท่าที่รู้จักกันในปัจจุบัน พร็อกซิมาคนครึ่งม้าอยู่ห่างจากระบบดาวคู่ แอลฟาคนครึ่งม้า ซึ่งสว่างกว่าและเป็นดาวที่อยู่ห่างจากโลกเป็นอันดับ 2 และ 3 ประมาณ 0.237 ± 0.011 ปีแสง มีความเป็นไปได้ที่พร็อกซิมาคนครึ่งม้าจะเป็นส่วนหนึ่งในระบบดาวสามดวงร่วมกับแอลฟาคนครึ่งม้า เอ และแอลฟาคนครึ่งม้า บี
ต้นกำเนิดชื่อ
พร็อกซิมา (ละติน : proxima ) แปลว่าใกล้ที่สุด ซึ่งสอดคล้องกับระยะห่างระหว่างดาวดวงนี้กับเรา
ขนาด
ภาพ ๆ นี้แสดงถึงขนาดของดาวต่าง ๆ (จากซ้ายไปขวา) : ดวงอาทิตย์ แอลฟาคนครึ่งม้า เอ แอลฟาคนครึ่งม้า บี และพร็อกซิมาคนครึ่งม้า
อ้างอิง
↑ 1.0 1.1 1.2 1.3 1.4 1.5 1.6 1.7 1.8 "SIMBAD query result: V* V645 Cen -- Flare Star" . Centre de Données astronomiques de Strasbourg. สืบค้นเมื่อ 2008-08-11 . —some of the data is located under "Measurements".
↑ Kamper, K. W.; Wesselink, A. J. (1978). "Alpha and Proxima Centauri" . Astronomical Journal . 83 : 1653–1659. doi :10.1086/112378 . สืบค้นเมื่อ 2008-08-03 .
↑ 3.0 3.1 3.2 3.3 Ségransan, D.; Kervella, P.; Forveille, T.; Queloz, D. (2003). "First radius measurements of very low mass stars with the VLTI" . Astronomy and Astrophysics . 397 : L5–L8. doi :10.1051/0004-6361:20021714 . สืบค้นเมื่อ 2008-08-07 .
↑ See Table 1, Doyle, J. G.; Butler, C. J. (1990). "Optical and infrared photometry of dwarf M and K stars". Astronomy and Astrophysics . 235 : 335–339. Bibcode :1990A&A...235..335D . and p. 57, Peebles, P. J. E. (1993). Principles of Physical Cosmology . Princeton, New Jersey: Princeton University Press. ISBN 0691019339 .
↑ Benedict, G. Fritz; และคณะ (1998). "Photometry of Proxima Centauri and Barnard's Star Using Hubble Space Telescope Fine Guidance Sensor 3: A Search for Periodic Variations" . The Astronomical Journal . 116 (1): 429–439. doi :10.1086/300420 . สืบค้นเมื่อ 2007-07-09 .
↑ Kervella, Pierre; Thevenin, Frederic (2003-03-15). "A Family Portrait of the Alpha Centauri System: VLT Interferometer Studies the Nearest Stars" . ESO. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม เมื่อ 2008-06-16. สืบค้นเมื่อ 2007-07-09 . {{cite news }}
: CS1 maint: multiple names: authors list (ลิงก์ )