Share to:

 

ฤดูพายุเฮอริเคนแอตแลนติก พ.ศ. 2559

ฤดูพายุเฮอริเคนแอตแลนติก พ.ศ. 2559
แผนที่สรุปฤดูกาล
ขอบเขตฤดูกาล
ระบบแรกก่อตัว12 มกราคม พ.ศ. 2559
ระบบสุดท้ายสลายตัว25 พฤศจิกายน พ.ศ. 2559
พายุมีกำลังมากที่สุด
ชื่อแมตทิว
 • ลมแรงสูงสุด160 ไมล์/ชม. (260 กม./ชม.)
(เฉลี่ย 1 นาที)
 • ความกดอากาศต่ำที่สุด934 มิลลิบาร์ (hPa; 27.58 inHg)
สถิติฤดูกาล
พายุดีเปรสชันทั้งหมด16 ลูก
พายุโซนร้อนทั้งหมด15 ลูก
พายุเฮอริเคน7 ลูก
พายุเฮอริเคนขนาดใหญ่
(ระดับ 3 ขึ้นไป)
3 ลูก
ผู้เสียชีวิตทั้งหมดทั้งหมด 1,766 คน
ความเสียหายทั้งหมด≥ 1.1665 หมื่นล้านดอลลาร์สหรัฐ
(ค่าเงิน USD ปี 2016)
ฤดูพายุเฮอริเคนแอตแลนติก
2557, 2558, 2559, 2560, 2561

ฤดูพายุเฮอริเคนแอตแลนติก พ.ศ. 2559 คือช่วงของฤดูกาลในอดีต ที่เคยมีการก่อตัวของพายุหมุนเขตร้อน ฤดูกาลอย่างเป็นทางการจะเริ่มนับในวันที่ 1 มิถุนายน และไปสิ้นสุดในวันที่ 30 พฤศจิกายน เหล่านี้วันตามขอบระยะเวลาของแต่ละช่วงฤดูถือเป็นช่วงเวลาที่มีพายุก่อตัวมากที่สุดในแอ่งแอตแลนติก อย่างไรก็ตามการก่อตัวของพายุหมุนเขตร้อนสามารถก่อตัวได้ทุกเวลา ฤดูกาลนี้เริ่มต้นเร็วกว่าปกติถึงเกือบ 5 เดือน ก่อนที่จะมีการเริ่มต้นฤดูกาลอย่างเป็นทางการ โดยพายุเฮอริเคนอเล็กซ์ ก่อตัวขึ้นทางตะวันออกของมหาสมุทรแอตแลนติกในวันที่ 13 มกราคม

ภาพรวมฤดูกาล

มาตราเฮอริเคนแซฟเฟอร์–ซิมป์สัน

พายุ

พายุเฮอริเคนอเล็กซ์

พายุเฮอริเคนระดับ 1 (SSHWS)
ระยะเวลา 13 – 15 มกราคม
ความรุนแรง 85 ไมล์/ชม. (140 กม./ชม.) (1 นาที)
981 มิลลิบาร์ (เฮกโตปาสกาล 28.97 นิ้วปรอท)
  • วันที่ 7 มกราคม ศูนย์เฮอริเคนแห่งชาติของสหรัฐอเมริกา ได้เริ่มติดตามหย่อมความกดอากาศต่ำนอกเขตร้อนที่มีศักยภาพ ซึ่งอยู่ห่างจากเบอร์มิวดา ไปทางทิศตะวันตกเฉียงใต้กึ่งใต้ ที่ระยะ 425 ไมล์ (685 กม.) ซึ่งมีลักษณะเหมือนพายุโซนร้อน หรือ พายุกึ่งโซนร้อน หลายวันต่อมา ระบบเคลื่อนตัวข้ามมหาสมุทรแอตแลนติกตอนกลาง[1]
  • วันที่ 13 มกราคม การหมุนเวียนเริ่มขึ้นใกล้กับศูนย์กลางของความกดอากาศต่ำ[2] นำไปสู่การก่อตัวเป็นพายุกึ่งโซนร้อน และได้รับชื่อ อเล็กซ์ โดยระบบอยู่ห่างจากอะโซร์สไปทางทิศตะวันตกเฉียงใต้กึ่งใต้ ที่ระยะ 785 ไมล์ (1,260 กม.) ณ เวลา 21:00 UTC
  • วันที่ 15 มกราคม ศูนย์เฮอริเคนแห่งชาติออกแถลงฉบับสุดท้ายกับพายุเฮอริเคนอเล็กซ์ เนื่องจากระบบพายุเปลี่ยนผ่านเป็นพายุหมุนนอกเขตร้อน[3]
  • วันที่ 17 มกราคม อเล็กซ์ถูกกลืนโดยพายุหมุนนอกเขตร้อนอีกลูกหนึ่ง ในตอนใต้ของทะเลแลบราดอร์[4]

อเล็กซ์เป็นพายุกึ่งโซนร้อนลูกแรกในเดือนมกราคม นับตั้งแต่ปี พ.ศ. 2521 และจากการบันทึก พบว่ามีพายุหมุนเขตร้อน หรือพายุหมุนนอกเขตร้อนเพียงสี่ลูกที่ก่อตัวในช่วงเดือนนี้[5][6] ต่อมาในวันที่ 14 มกราคม เวลา 15:00 UTC อเล็กซ์ ทวีกำลังแรงขึ้นเป็นพายุเฮอริเคน และกลายเป็นพายุเฮอริเคนลูกที่สองในเดือนมกราคม นับตั้งแต่พายุเฮอริเคนหนึ่ง เมื่อปี พ.ศ. 2481[7]

พายุโซนร้อนบอนนี

พายุโซนร้อน (SSHWS)
ระยะเวลา 27 พฤษภาคม – 5 มิถุนายน
ความรุนแรง 45 ไมล์/ชม. (75 กม./ชม.) (1 นาที)
1006 มิลลิบาร์ (เฮกโตปาสกาล 29.71 นิ้วปรอท)
  • วันที่ 24 พฤษภาคม ศูนย์เฮอริเคนแห่งชาติ (National Hurricane Center หรือ NHC) เริ่มเฝ้าระวังพื้นที่ของอากาศแปรปรวน ซึ่งเป็นผลมาจากปฏิกิริยาของแนวปะทะอากาศเย็นกำลังอ่อนและร่องความกดอากาศต่ำระดับบน[8]
  • วันที่ 25 พฤษภาคม พื้นผิวของความกดอากาศต่ำก่อตัวขึ้น[9]
  • วันที่ 27 พฤษภาคม องค์ประกอบที่เพียงพอประสบความสำเร็จในที่สุด กลายเป็นพายุดีเปรสชันเขตร้อน ในเวลา 21:00 UTC[10] ระบบนำไปทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือกึ่งตะวันตกภายในสิ่งแวดล้อมที่เอื้อเล็กน้อย
  • วันที่ 28 พฤษภาคม พายุดีเปรสชันค่อย ๆ ทวีกำลังแรงขึ้นเป็นพายุโซนร้อนอย่างช้า ๆ และได้ชื่อ บอนนี[11]
  • วันที่ 29 พฤษภาคม ความต่อเนื่องได้รับผลจากลมเฉือนระดับสูงและอากาศที่แห้ง ทำให้ลักษณะปรากฏของพายุหมุนเสื่อมลงก่อนกำหนด[12] และบอนนี ได้อ่อนกำลังลงเป็นพายุดีเปรสชันซึ่งมีกำลังน้อยกว่าช่วงไม่กี่ชั่วโมงที่พัดขึ้นฝั่งทางตะวันออกของเมืองชาร์ลสตัน รัฐเซาท์แคโรไลนา[13][14]
  • วันที่ 30 พฤษภาคม พายุดีเปรสชันเคลื่อนไปเรื่อย ๆ เหนือรัฐเซาท์แคโรไลนา สหรัฐอเมริกา ก่อนจะเสื่อมถอยลงเป็นเศษความกดอากาศต่ำเหนือบางส่วนของรัฐทางตะวันออกเฉียงเหนือ ในเวลา 15:00 UTC[15]
  • วันที่ 2 มิถุนายน อย่างไรก็ตาม บอนนีได้ทวีกำลังขึ้นเป็นพายุดีเปรสชันเขตร้อนอีกครั้ง
  • วันที่ 3 มิถุนายน บอนนีได้ทวีกำลังแรงกลับเป็นพายุโซนร้อนอีกครั้ง เนื่องจากการหมุนเวียนพลังลมฉับพลัน
  • วันที่ 4 มิถุนายน บอนนีอ่อนกำลังลงเป็นพายุดีเปรสชันอีกครั้ง

เหนือการก่อตัว การเตือนภัยพายุโซนร้อนถูกใช้ระหว่างแม่น้ำสะวันนาถึงแม่น้ำลิตเติ้ล[10] ฝนตกหนักที่เกี่ยวข้องกับบอนนีก่อให้เกิดน้ำท่วมเฉพาะที่ พร้อมกับตำรวจทางหลวงรัฐเซาท์แคโรไลนาได้ปิดการจราจรเส้นทางมุ่งหน้าลงใต้ของทางหลวงอินเตอร์สเตตหมายเลข 95 ในแจสเปอร์เคาน์ตี รัฐเซาท์แคโรไลนา[16] คลื่นยักษ์พัดเข้าตลอดแนวชายฝั่งของสหรัฐอเมริกาตะวันออกเฉียงใต้ มีการค้นพบร่างของชายอายุ 20 ปี ในเบรฟวาร์ดเคาน์ตี รัฐฟลอริดา หลังจากเขาจมน้ำเสียชีวิต ขณะที่มีการพบร่างชายอายุ 21 ปี ในนิวแฮโนเวอร์เคาน์ตี รัฐนอร์ทแคโรไลนา ภายหลังจากที่เขาได้หายตัวไปหลายวัน[17] ในทั้งหมด บอนนีถูกประมาณว่าเป็นสาเหตุของความเสียหายมากกว่า 600,000 ดอลลาร์สหรัฐ (ค่าเงิน ค.ศ. 2016)[18]

พายุโซนร้อนคอลิน

พายุโซนร้อน (SSHWS)
ระยะเวลา 5 – 7 มิถุนายน
ความรุนแรง 50 ไมล์/ชม. (85 กม./ชม.) (1 นาที)
1000 มิลลิบาร์ (เฮกโตปาสกาล 29.53 นิ้วปรอท)
  • วันที่ 3 มิถุนายน หย่อมความกดอากาศเข้าสู่ทะเลแคริบเบียน โดยเศษของหย่อมความกดอากาศต่ำไม่เป็นระบบด้วยการพาความร้อนที่แยกไปโดยมากในจตุภาคตะวันออก ต่อมาการพาความร้อนเริ่มกลับมาโอบรอบศูนย์กลาง ในลักษณะโค้งทางเหนือเข้าสู่อ่าวเม็กซิโก[19]
  • วันที่ 5 มิถุนายน หลังจากความกดอากาศต่ำเคลื่อนตัวผ่านคาบสมุทรยูกาตัน ศูนย์เฮอริเคนแห่งชาติ (NHC) ได้ประกาศทวีความรุนแรงมันเป็นพายุดีเปรสชันเขตร้อนสาม และออกเตือนพายุโซนร้อนในเขตบิกเบนด์ของรัฐฟลอริดา[20][21]
  • วันที่ 6 มิถุนายน พายุดีเปรสชันเขตร้อนได้ทวีกำลังแรงขึ้นเป็นพายุโซนร้อน และได้รับชื่อ คอลิน หลังจากที่มีการประกาศเฝ้าระวังพายุโซนร้อนในตะวันออกของรัฐฟลอริดา และรัฐจอร์เจีย[22][23] คอลินเคลื่อนตัวไปทางตะวันออกเฉียงเหนือกึ่งเหนือเรื่อย ๆ โดยมีแถบฝนรอบนอกเป็นสาเหตุของฝนตกในเมืองแทมปา และส่วนมากของชายฝั่งด้านอ่าวของรัฐฟลอริดา ด้วยความรุนแรงถึง 50 mph (80 km/h) ทำให้ส่วนมากของรัฐฟลอริดาเผชิญกับฝนตกหนัก น้ำท่วมฉับพลัน และมีการประกาศเตือนพายุทอร์นาโด
  • วันที่ 7 มิถุนายน คอลินขึ้นฝั่งในเขตบิ๊กเบนของรัฐฟลอริดา และเคลื่อนตัวไปทางตอนเหนือของรัฐฟลอริดาและตะวันออกเฉียงใต้ของรัฐจอร์เจียอย่างรวดเร็ว ก่อนจะลงสู่มหาสมุทรแอตแลนติก และกลายเป็นพายุกึ่งโซนร้อนด้วยความรุนแรง 60 mph (97 km/h) ซึ่งเป็นผลจากกระบวนการบารอคลินิก (Baroclinic processes)

การก่อตัวเป็นพายุโซนร้อนนี้ เป็นการก่อตัวเร็วที่สุดในบันทึกของพายุลูกที่ 3 ที่ได้รับชื่อภายในแอ่งแอตแลนติก เหนือกว่าบันทึกก่อนหน้านี้ซึ่งเกิดขึ้นในฤดูกาล ค.ศ. 1887 (พ.ศ. 2430) เพียง 7 วัน[24]

พายุโซนร้อนแดเนียลล์

พายุโซนร้อน (SSHWS)
ระยะเวลา 19 – 21 มิถุนายน
ความรุนแรง 45 ไมล์/ชม. (75 กม./ชม.) (1 นาที)
1007 มิลลิบาร์ (เฮกโตปาสกาล 29.74 นิ้วปรอท)
  • วันที่ 14 มิถุนายน ศูนย์เฮอริเคนแห่งชาติ (NHC ; เอ็นเอชซี) ได้เริ่มตรวจสอบคลื่นเขตร้อนที่ตั้งอยู่ในทะเลแคริบเบียนตะวันตก[25]


พายุเฮอริเคนเอิร์ล

พายุเฮอริเคนระดับ 1 (SSHWS)
ระยะเวลา 2 – 6 สิงหาคม
ความรุนแรง 80 ไมล์/ชม. (130 กม./ชม.) (1 นาที)
979 มิลลิบาร์ (เฮกโตปาสกาล 28.91 นิ้วปรอท)


พายุโซนร้อนฟีโอนา

พายุโซนร้อน (SSHWS)
ระยะเวลา 16 – 23 สิงหาคม
ความรุนแรง 50 ไมล์/ชม. (85 กม./ชม.) (1 นาที)
1004 มิลลิบาร์ (เฮกโตปาสกาล 29.65 นิ้วปรอท)

พายุเฮอริเคนแกสตัน

พายุเฮอริเคนระดับ 3 (SSHWS)
ระยะเวลา 22 สิงหาคม – 3 กันยายน
ความรุนแรง 120 ไมล์/ชม. (195 กม./ชม.) (1 นาที)
956 มิลลิบาร์ (เฮกโตปาสกาล 28.23 นิ้วปรอท)

พายุดีเปรสชันแปด

พายุดีเปรสชันเขตร้อน (SSHWS)
ระยะเวลา 28 สิงหาคม – 1 กันยายน
ความรุนแรง 35 ไมล์/ชม. (55 กม./ชม.) (1 นาที)
1010 มิลลิบาร์ (เฮกโตปาสกาล 29.83 นิ้วปรอท)

พายุเฮอริเคนเฮอร์มีน

พายุเฮอริเคนระดับ 1 (SSHWS)
ระยะเวลา 28 สิงหาคม – 3 กันยายน
ความรุนแรง 80 ไมล์/ชม. (130 กม./ชม.) (1 นาที)
982 มิลลิบาร์ (เฮกโตปาสกาล 29 นิ้วปรอท)

พายุโซนร้อนเอียน

พายุโซนร้อน (SSHWS)
ระยะเวลา 12 – 16 กันยายน
ความรุนแรง 60 ไมล์/ชม. (95 กม./ชม.) (1 นาที)
994 มิลลิบาร์ (เฮกโตปาสกาล 29.35 นิ้วปรอท)


พายุโซนร้อนจูเลีย

พายุโซนร้อน (SSHWS)
ระยะเวลา 14 – 19 กันยายน
ความรุนแรง 40 ไมล์/ชม. (65 กม./ชม.) (1 นาที)
1007 มิลลิบาร์ (เฮกโตปาสกาล 29.74 นิ้วปรอท)

พายุโซนร้อนคาร์ล

พายุโซนร้อน (SSHWS)
ระยะเวลา 14 – 25 กันยายน
ความรุนแรง 70 ไมล์/ชม. (110 กม./ชม.) (1 นาที)
988 มิลลิบาร์ (เฮกโตปาสกาล 29.18 นิ้วปรอท)

พายุโซนร้อนลีซา

พายุโซนร้อน (SSHWS)
ระยะเวลา 19 – 25 กันยายน
ความรุนแรง 50 ไมล์/ชม. (85 กม./ชม.) (1 นาที)
999 มิลลิบาร์ (เฮกโตปาสกาล 29.5 นิ้วปรอท)

พายุเฮอริเคนแมตทิว

พายุเฮอริเคนระดับ 5 (SSHWS)
ระยะเวลา 28 กันยายน – 9 ตุลาคม
ความรุนแรง 160 ไมล์/ชม. (260 กม./ชม.) (1 นาที)
934 มิลลิบาร์ (เฮกโตปาสกาล 27.58 นิ้วปรอท)

พายุเฮอริเคนนิโคล

พายุเฮอริเคนระดับ 4 (SSHWS)
ระยะเวลา 4 – 18 ตุลาคม
ความรุนแรง 130 ไมล์/ชม. (215 กม./ชม.) (1 นาที)
950 มิลลิบาร์ (เฮกโตปาสกาล 28.05 นิ้วปรอท)

พายุเฮอริเคนออตโต

พายุเฮอริเคนระดับ 2 (SSHWS)
ระยะเวลา 21 – 25 พฤศจิกายน
(ออกนอกแอ่ง)
ความรุนแรง 110 ไมล์/ชม. (175 กม./ชม.) (1 นาที)
975 มิลลิบาร์ (เฮกโตปาสกาล 28.79 นิ้วปรอท)

รายชื่อพายุ

รายชื่อต่อไปนี้จะใช้สำหรับพายุที่ก่อตัวในมหาสมุทรแอตแลนติกเหนือในปี พ.ศ. 2559 หากมีชื่อที่ถูกปลด จะมีการประกาศโดยองค์การอุตุนิยมวิทยาโลกในฤดูใบไม้ผลิ พ.ศ. 2560 และชื่อที่ไม่ได้ถูกปลดจากรายการนี้จะถูกนำกลับมาใช้อีกครั้งในปี พ.ศ. 2565 โดยรายการที่ใช้ในปีนี้เป็นรายการเดียวกับที่ใช้ในฤดูกาล พ.ศ. 2553 โดยในฤดูนี้มีชื่อที่เปลี่ยนแปลงคือ อีกอร์ และ โทมัส ซึ่งถูกปลดและแทนที่ด้วย เอียน และ โทไบอัส ตามลำดับ[26]

  • อเล็กซ์ (Alex)
  • บอนนี (Bonnie)
  • คอลิน (Colin)
  • แดเนียลล์ (Danielle)
  • เอิร์ล (Earl)
  • ฟีโอนา (Fiona)
  • แกสตัน (Gaston)
  • เฮอร์มีน (Hermine)
  • เอียน (Ian)
  • จูเลีย (Julia)
  • คาร์ล (Karl)
  • ลีซา (Lisa)
  • แมตทิว (Matthew)
  • นิโคล (Nicole)
  • ออตโต (Otto)
  • เปาลา (Paula) (ยังไม่ใช้)
  • ริชาร์ด (Richard) (ยังไม่ใช้)
  • แชรี (Shary) (ยังไม่ใช้)
  • โทไบอัส (Tobias) (ยังไม่ใช้)
  • วีร์ฌีนี (Virginie) (ยังไม่ใช้)
  • วอลเตอร์ (Walter) (ยังไม่ใช้)

ผลกระทบ

ตารางนี้แสดงพายุทั้งหมดที่ก่อตัวในปี พ.ศ. 2559 ซึ่งรวมระยะเวลาการก่อตัว, ชื่อ, สถานที่ขึ้นฝั่ง–แสดงชื่อสถานที่เป็นตัวหนา– , ความเสียหาย และจำนวนผู้เสียชีวิตทั้งหมด ส่วนการเสียชีวิตในวงเล็บคือการเสียชีวิตเพิ่มเติมและทางอ้อม (เช่นการเสียชีวิตจากอุบัติเหตุบนถนน) แต่ที่เกี่ยวข้องกับพายุโดยตรงยังคงที่ ความเสียหายและการเสียชีวิตรวมถึงขณะที่พายุกลายเป็นเอ็กซ์ตราทรอปิคอล, คลื่น ความเสียหายทั้งหมดนับเป็นดอร์ล่าสหรัฐ ค่าเงินปี ค.ศ. 2016

สถิติของพายุหมุนเขตร้อนในมหาสมุทรแอตแลนติกเหนือ พ.ศ. 2559
ชื่อ
พายุ
วันที่ ระดับความรุนแรง
ขณะมีความรุนแรงสูงสุด
ลมสูงสุด
1-นาที
ไมล์/ชม. (กม./ชม.)
ความกดอากาศ
(มิลลิบาร์)
พื้นที่ได้รับผลกระทบ ความเสียหาย
(ดอลลาร์สหรัฐ)
เสียชีวิต อ้างอิง


อเล็กซ์ 13 – 15 มกราคม พายุเฮอริเคนระดับ 1 85 (140) 981 อะโซร์ส อะโซร์ส
เบอร์มิวดา เบอร์มิวดา
เล็กน้อย (1)
บอนนี 27 พฤษภาคม – 5 มิถุนายน พายุโซนร้อน 45 (75) 1006 สหรัฐอเมริกา สหรัฐอเมริกาตะวันออกเฉียงใต้
ประเทศบาฮามาส บาฮามาส
>0.6 2
คอลิน 5 – 7 มิถุนายน พายุโซนร้อน 50 (85) 1000 เม็กซิโก คาบสมุทรยูกาทัน
คิวบา คิวบา
สหรัฐอเมริกา ฝั่งทะเลด้านตะวันออกของสหรัฐอเมริกา
0.01 4
แดเนียลล์ 19 – 21 มิถุนายน พายุโซนร้อน 45 (75) 1007 เม็กซิโก คาบสมุทรยูกาทันและเม็กซิโกตะวันออก ไม่ทราบ 1
สรุปฤดูกาล
3 ลูก 13 มกราคม – 25 พฤศจิกายน   85 (140) 981 >0.65 7 (1)  

ดูเพิ่ม

อ้างอิง

  1. Michael J. Brennan (January 7, 2016). "Special Tropical Weather Outlook valid 325 pm EST Thu Jan 7 2016". Miami, Florida: National Hurricane Center. สืบค้นเมื่อ January 13, 2016.
  2. Richard J. Pasch (January 7, 2016). "Special Tropical Weather Outlook valid 105 pm EST Wed Jan 13 2016". Miami, Florida: National Hurricane Center. สืบค้นเมื่อ January 13, 2016.
  3. POST-TROPICAL CYCLONE ALEX ADVISORY NUMBER 9
  4. Frank S. Musonda (January 17, 2016). High Seas Forecast for MetArea IV (Report). Ocean Prediction Center. สืบค้นเมื่อ January 17, 2016.[ลิงก์เสีย]
  5. Richard J. Pasch (January 13, 2016). "Subtropical Storm Alex Discussion Number 1". Miami, Florida: National Hurricane Center. สืบค้นเมื่อ January 13, 2016.
  6. Petersen, Bo. "2016 hurricane season gets very early start". The Post And Courier. The Post And Courier. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2016-01-17. สืบค้นเมื่อ 13 January 2016.
  7. Wood, Tony. "Alex makes hurricane history". philly.com. Inquirer Weather Columnist. สืบค้นเมื่อ 14 January 2016.
  8. Eric S. Blake (24 พฤษภาคม 2559). "Special Tropical Weather Outlook 335 pm EDT Tue May 24 2016". ไมอามี รัฐฟลอริดา: ศูนย์เฮอริเคนแห่งชาติ. สืบค้นเมื่อ 30 พฤษภาคม 2559. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= (help)
  9. Todd B. Kimberlain (25 พฤษภาคม 2559). "Special Tropical Weather Outlook 740 pm EDT Wed May 25 2016". ไมอามี รัฐฟลอริดา: ศูนย์เฮอริเคนแห่งชาติ. สืบค้นเมื่อ 30 พฤษภาคม 2559. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= (help)
  10. 10.0 10.1 Stacy R. Stewart (27 พฤษภาคม 2559). "Tropical Depression Two Public Advisory Number 1". ไมอามี รัฐฟลอริดา: ศูนย์เฮอริเคนแห่งชาติ. สืบค้นเมื่อ 30 พฤษภาคม 2559. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= (help)
  11. Stacy R. Stewart (28 พฤษภาคม 2559). "Tropical Storm Bonnie Public Advisory Number 5". ไมอามี รัฐฟลอริดา: ศูนย์เฮอริเคนแห่งชาติ. สืบค้นเมื่อ 30 พฤษภาคม 2559. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= (help)
  12. Stacy R. Stewart (29 พฤษภาคม 2559). "Tropical Storm Bonnie Public Advisory Number 7". ไมอามี รัฐฟลอริดา: ศูนย์เฮอริเคนแห่งชาติ. สืบค้นเมื่อ 30 พฤษภาคม 2559. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= (help)
  13. Daniel P. Brown; Todd B. Kimberlain (29 พฤษภาคม 2559). "Tropical Depression Bonnie Intermediate Advisory Number 7A". ไมอามี รัฐฟลอริดา: ศูนย์เฮอริเคนแห่งชาติ. สืบค้นเมื่อ 30 พฤษภาคม 2559. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= (help)
  14. Daniel P. Brown; Todd B. Kimberlain (29 พฤษภาคม 2559). "Tropical Depression Bonnie Tropical Cyclone Update". ไมอามี รัฐฟลอริดา: ศูนย์เฮอริเคนแห่งชาติ. สืบค้นเมื่อ 30 พฤษภาคม 2559. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= (help)
  15. Todd B. Kimberlain (29 พฤษภาคม 2559). "Post-Tropical Cyclone Bonnie Public Advisory Number 12". ไมอามี รัฐฟลอริดา: ศูนย์เฮอริเคนแห่งชาติ. สืบค้นเมื่อ 30 พฤษภาคม 2559. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= (help)
  16. Staff writer (28 พฤษภาคม 2559). "Flooding from TD Bonnie prompts closing of portion of I-95 in SC". The Charlotte Observer. สืบค้นเมื่อ 30 พฤษภาคม 2559. {{cite news}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= (help)
  17. WECT Staff (31 พฤษภาคม 2559). "Body of missing swimmer found on Kure Beach". WECT News. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2017-01-14. สืบค้นเมื่อ 31 พฤษภาคม 2559. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= (help)
  18. Godfrey, Georgiaree. "Jasper County feeling effects of Tropical Storm Bonnie". WTOC.com. สืบค้นเมื่อ 3 มิถุนายน 2559. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= (help)
  19. John L. Beven (3 มิถุนายน 2559). "5-Day Tropical Weather Outlook 800 am EDT Fri Jun 3 2016". ไมอามี รัฐฟลอริดา: ศูนย์เฮอริเคนแห่งชาติ. สืบค้นเมื่อ 7 มิถุนายน 2559. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= (help)
  20. Daniel P. Brown (5 มิถุนายน 2559). "5-Day Tropical Weather Outlook 800 am EDT Sun Jun 5 2016". ไมอามี รัฐฟลอริดา: ศูนย์เฮอริเคนแห่งชาติ. สืบค้นเมื่อ 7 มิถุนายน 2559. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= (help)
  21. Daniel P. Brown (5 มิถุนายน 2559). "Tropical Depression Three Discussion Number 1". ไมอามี รัฐฟลอริดา: ศูนย์เฮอริเคนแห่งชาติ. สืบค้นเมื่อ 7 มิถุนายน 2559. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= (help)
  22. Daniel P. Brown (5 มิถุนายน 2559). "Tropical Storm Colin Public Advisory Number 2". ไมอามี รัฐฟลอริดา: ศูนย์เฮอริเคนแห่งชาติ. สืบค้นเมื่อ 7 มิถุนายน 2559. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= (help)
  23. Richard J. Pasch (5 มิถุนายน 2559). "Tropical Storm Colin Tropical Cyclone Update". ไมอามี รัฐฟลอริดา: ศูนย์เฮอริเคนแห่งชาติ. สืบค้นเมื่อ 7 มิถุนายน 2559. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= (help)
  24. Bob Henson (6 มิถุนายน 2559). "Tropical Storm Colin Becomes Earliest "C" Storm in Atlantic History". ซานฟรานซิสโก รัฐแคลิฟอร์เนีย: Weather Underground. สืบค้นเมื่อ 7 มิถุนายน 2559. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= (help)
  25. Todd B. Kimberlain (14 มิถุนายน 2559). "Five-Day Tropical Weather Outlook 800 PM EDT Tue Jun 14 2016". ไมอามี รัฐฟลอริดา: ศูนย์เฮอริเคนแห่งชาติ. สืบค้นเมื่อ 21 มิถุนายน 2559. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= (help)
  26. Tropical Cyclone Naming History and Retired Names. National Hurricane Center (Report). Miami, Florida: National Oceanic and Atmospheric Administration. April 11, 2013. สืบค้นเมื่อ April 22, 2013.

แหล่งข้อมูลอื่น

Kembali kehalaman sebelumnya