วัลเทอร์ แน็นสท์
|
---|
|
เกิด | 25 มิถุนายน ค.ศ. 1864(1864-06-25) Briesen, Kreis Thorn, ปรัสเซียตะวันตก, ราชอาณาจักรปรัสเซีย (ปัจจุบัน Wąbrzeźno, จังหวัดกูยาวือ-ปอมอแช, โปแลนด์)[2][3] |
---|
เสียชีวิต | 18 พฤศจิกายน ค.ศ. 1941(1941-11-18) (77 ปี) Zibelle, Landkreis Rothenburg, Gau Lower Silesia, นาซีเยอรมนี (ปัจจุบัน Niwica, จังหวัดลูบุช, โปแลนด์) |
---|
สัญชาติ | เยอรมัน |
---|
ศิษย์เก่า | มหาวิทยาลัยซือริช มหาวิทยาลัยฟรีดริช วิลเฮ็ล์ม มหาวิทยาลัยกราซ มหาวิทยาลัยยูลิอุส-มักซีมีเลียนแห่งเวือทซ์บวร์ค |
---|
รางวัล | รางวัลโนเบลสาขาเคมี (1920) Franklin Medal (1928) |
---|
อาชีพทางวิทยาศาสตร์ |
สาขา | เคมี |
---|
สถาบันที่ทำงาน | มหาวิทยาลัยเกออร์ค เอากุสท์แห่งเกิททิงเงิน มหาวิทยาลัยฟรีดริช วิลเฮ็ล์ม มหาวิทยาลัยไลพ์ซิช |
---|
อาจารย์ที่ปรึกษาในระดับปริญญาเอก | Friedrich Kohlrausch[ต้องการอ้างอิง] |
---|
อาจารย์ที่ปรึกษาอื่น ๆ | Ludwig Boltzmann |
---|
ลูกศิษย์ในระดับปริญญาเอก | Sir Frances Simon Richard Abegg Irving Langmuir Leonid Andrussow Karl Friedrich Bonhoeffer Frederick Lindemann William Duane Margaret Eliza Maltby Arnold Eucken |
---|
ลูกศิษย์ที่มีชื่อเสียงอื่น ๆ | Gilbert N. Lewis Max Bodenstein Robert von Lieben Kurt Mendelssohn Theodor Wulf Emil Bose Hermann Irving Schlesinger Claude Hudson |
---|
ได้รับอิทธิพลจาก | J. R. Partington |
---|
|
วัลเทอร์ แฮร์มัน แน็นสท์ (เยอรมัน: Walther Hermann Nernst, 25 มิถุนายน ค.ศ. 1864 – 18 พฤศจิกายน ค.ศ. 1941) เป็นนักเคมีชาวเยอรมันที่รู้จักกันจากผลงานในสาขาอุณหพลศาสตร์ เคมีเชิงฟิสิกส์ เคมีไฟฟ้า และฟิสิกส์สถานะของแข็ง การกำหนดทฤษฎีบทความร้อนของแน็นสท์ช่วยปูทางสำหรับกฎข้อที่สามของอุณหพลศาสตร์ ทำให้เขาได้รับรางวัลโนเบลสาขาเคมี ค.ศ. 1920 นอกจากนี้เขายังเป็นที่รู้จักกันในการพัฒนาสมการแน็นสท์ใน ค.ศ. 1887
อ้างอิง
|
---|
ค.ศ. 1901–1925 | |
---|
ค.ศ. 1926–1950 | |
---|
ค.ศ. 1951–1975 | |
---|
ค.ศ. 1976–2000 | |
---|
ค.ศ. 2001–ปัจจุบัน | |
---|