สงครามรัสเซีย–ยูเครน สถานการณ์ทางทหาร ณ วันที่ 28 ธันวาคม 2024
ควบคุมโดยยูเครน ควบคุมโดยรัสเซียและกองทัพที่สนับสนุนรัสเซียวันที่ 20 กุมภาพันธ์ 2014–ปัจจุบัน สถานที่ สถานะ
ดำเนินอยู่
กองทหารรัสเซียเข้ายึดครองไครเมีย ท่ามกลางความขัดแย้งนิยมรัสเซียในประเทศยูเครน หลังการปฏิวัติใน ค.ศ. 2014
การแทรกแซงของรัสเซียในสงครามในดอนบัส
รัสเซียผนวกไครเมียและบางส่วนของแคว้นปกครองตนเองยูเครนตะวันออกเฉียงใต้ 4 แห่งในปี 2014 และ 2022 ตามลำดับ
รัสเซียยึดครองดินแดนยูเครนประมาณ 18% ณ เดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2565[ 27]
คู่สงคราม
สนับสนุนอาวุธ :
คว่ำบาตรทางเศรษฐกิจรัสเซีย :
การสนับสนุนทางไซเบอร์ :
เบลารุส [ c] ผู้บังคับบัญชาและผู้นำ
กำลัง
รายละเอียดเหตุการณ์ที่เกี่ยวข้องในประเด็นสำคัญของสงคราม:
ความสูญเสีย
จุดที่ถูกขีปนาวุธ โจมตีในเคียฟ (24 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 2022)
สงครามรัสเซีย–ยูเครน [ 40] [ e] (ยูเครน : російсько-українська війна , อักษรโรมัน: rosiisko-ukrainska viina ) เป็นสงครามต่อเนื่องระหว่างรัสเซีย (พร้อมกับกองกำลังแบ่งแยกดินแดนที่สนับสนุนรัสเซีย ) และยูเครน [ f] มันถูกเริ่มต้นขึ้นโดยรัสเซียในเดือนกุมภาพันธ์ ค.ศ. 2014 ภายหลังจากการปฏิวัติแห่งศักดิ์ศรี ของยูเครน และจุดสำคัญในช่วงแรกไปที่สถานะของไครเมีย และดอนบัส ซึ่งเป็นที่ยอมรับในระดับสากลว่าเป็นส่วนหนึ่งของยูเครน แปดปีแรกของความขัดแย้งครั้งนี้ รวมไปถึงรัสเซียได้ผนวกรวมแหลมไครเมีย (ค.ศ. 2014) และสงครามในดอนบัส (ค.ศ. 2014–ปัจจุบัน) ระหว่างยูเครนและฝ่ายแบ่งแยกดินแดนที่ได้รับการสนับสนุนจากรัสเซีย ตลอดจนถึงอุบัติการณ์ทางเรือ สงครามไซเบอร์ และความตึงเครียดทางการเมือง ตามมาด้วยการรวมตัวกันของกองทัพรัสเซีย บนบริเวณชายแดนรัสเซีย-ยูเครน ตั้งแต่ช่วงปลายปี ค.ศ. 2021 ความขัดแย้งครั้งนี้ได้ขยายออกไปอย่างมีนัยสำคัญ เมื่อรัสเซียเปิดฉากการรุกรานยูเครนอย่างเต็มรูปแบบ เมื่อวันที่ 24 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 2022
ภายหลังจากการประท้วงของยูโรไมดาน และการปฏิวัติได้ส่งผลทำให้ถอดถอนประธานาธิบดี วิกตอร์ ยานูกอวึช ที่สนับสนุนรัสเซียในเดือนกุมภาพันธ์ ค.ศ. 2014 มีการก่อความไม่สงบของฝ่ายที่สนับสนุนรัสเซีย ได้ปะทุขึ้นในบางส่วนของยูเครน ทหารรัสเซียที่ไม่มีเครื่องยศ ได้เข้าควบคุมตำแหน่งทางยุทธศาสตร์และโครงสร้างพื้นฐานในดินแดนไครเมียของยูเครนและเข้ายึดรัฐสภาไครเมีย รัสเซียจัดให้มีการลงประชามติที่มีการโต้เถียงกัน ซึ่งผลลัพธ์ที่ออกมาคือ ไครเมียจะต้องถูกเข้าร่วมกับรัสเซีย สิ่งนี้นำไปสู่การผนวกไครเมีย ในเดือนเมษายน ค.ศ. 2014 การเดินขบวนของกลุ่มที่สนับสนุนรัสเซียในดอนบัสได้ก่อให้เกิดบานปลายจนกลายเป็นสงครามระหว่างกองทัพยูเครน และกองกำลังฝ่ายแบ่งแยกดินแดนที่ได้รับการสนับสนุนจากรัสเซียของสาธารณรัฐประชาชนดอแนตสก์ และสาธารณรัฐประชาชนลูฮันสก์ ซึ่งประกาศตนเป็นอิสระ
ยานพาหนะทางทหารของรัสเซียที่ไม่เครื่องหมายได้ก้าวข้ามชายแดน[ 41] สู่สาธารณรัฐดอแนตส์ สงครามโดยไม่ได้มีการประกาศได้เริ่มขึ้นระหว่างกองกำลังยูเครนในฝ่ายหนึ่งและฝ่ายแบ่งแยกดินแดนที่ได้ผสมปนเปกับทหารรัสเซียในอีกฝ่ายหนึ่ง แม้ว่ารัสเซียจะพยายามหลบซ่อนในการมีส่วนร่วม สงครามได้จบลงด้วยความขัดแย้งคงที่ กับความพยายามในการเรียกร้องให้มีการหยุดยิงซึ่งประสบความล้มเหลวซ้ำแล้วซ้ำเล่า ใน ค.ศ. 2015 รัสเซียและยูเครนได้ลงนามในข้อตกลงมินสค์ 2 แต่มีข้อพิพาทหลายประการที่คอยขัดขวางจนไม่สามารถบรรลุผลได้อย่างเต็มที่ ใน ค.ศ. 2019 ประมาณ 7% ของยูเครนถูกจัดประเภทโดยรัฐบาลยูเครนว่าเป็นดินแดนที่ถูกยึดครองเป็นการชั่วคราว
ใน ค.ศ. 2021 และต้นปี ค.ศ. 2022 มีการรวมตัวกันของกองทัพรัสเซียครั้งใหญ่บริเวณรอบชายแดนยูเครน เนโท ได้กล่าวหาว่ารัสเซียทำการวางแผนในการรุกรานซึ่งได้ให้การปฏิเสธ วลาดีมีร์ ปูติน ประธานาธิบดีแห่งรัสเซียได้วิจารณ์ว่า การขยายตัวของเนโท เป็นภัยคุกคามต่อประเทศของเขา และต้องการห้ามเพื่อไม่ให้ยูเครนเข้าร่วมเป็นพันธมิตรทางทหาร มาโดยตลอด นอกจากนี้ เขายังได้แสดงมุมมองของลัทธิการทวงดินแดนกลับคืนมา(irredentist) ได้ตั้งคำถามถึงสิทธิในการดำรงอยู่ ของยูเครน และได้บอกกล่าวที่เป็นเท็จว่ายูเครนถูกก่อตั้งขึ้นโดยวลาดีมีร์ เลนิน [ 42] เมื่อวันที่ 21 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 2022 รัสเซียได้ให้การรับรองอย่างเป็นทางการแก่ทั้งสองรัฐฝ่ายแบ่งแยกดินแดนซึ่งประกาศตนเป็นอิสระ ในดอนบัส และส่งกองกำลังทหารเข้าไปในดินแดนอย่างเปิดเผย สามวันต่อมา รัสเซียเข้ารุกรานยูเครน ประชาคมระหว่างประเทศส่วนใหญ่ได้กล่าวประณามรัสเซียอย่างหนัก สำหรับการกระทำของตนในยูเครน โดยกล่าวหาว่าได้ทำการละเมิดกฏหมายระหว่างประเทศและรุกล้ำอธิปไตย ของยูเครนอย่างร้ายแรง หลายประเทศได้ดำเนินการในการคว่ำบาตรทางเศรษฐกิจ ต่อรัสเซีย บุคคลหรือบริษัทที่มาจากรัสเซีย[ 43] โดยเฉพาะอย่างยิ่งในภายหลังการรุกราน ค.ศ. 2022
หมายเหตุ
↑ สาธารณรัฐประชาชนดอแนตสก์ เป็นรัฐสนับสนุนการแบ่งแยกที่ประกาศอิสรภาพในเดือนพฤษภาคม 2557 ขณะเดียวกันก็ได้รับการรับรองจากหน่วยการเมืองคล้ายรัฐ (quasi-state) ที่ได้รับการยอมรับเพียงบางประเทศข้างเคียง ได้แก่ รัฐโดยพฤตินัยเซาท์ออสซีเชีย และรัสเซีย (ตั้งแต่ 2565)[ 23]
↑ สาธารณรัฐประชาชนลูฮันสก์ เป็นรัฐสนับสนุนการแบ่งแยกที่ประกาศอิสรภาพในเดือนพฤษภาคม 2557 ขณะเดียวกันก็ได้รับการรับรองจากหน่วยการเมืองคล้ายรัฐ (quasi-state) ที่ได้รับการยอมรับเพียงบางประเทศข้างเคียง ได้แก่ รัฐโดยพฤตินัยเซาท์ออสซีเชีย และรัสเซีย (ตั้งแต่ 2565)[ 24] [ 25]
↑ เบลารุสยอมให้กองทัพรัสเซียเคลื่อนทัพผ่านดินแดนของตนเพื่อไปรุกรานยูเครน[ 26]
↑ รวมทหารรัสเซีย 400–500 นาย (กระทรวงการต่างประเทศสหรัฐ , มีนาคม ค.ศ. 2015)[ 39]
↑ รัสเซีย : pоссийско-украинская война , อักษรโรมัน: rossiysko-ukrainskaya voyna ; ยูเครน : російсько-українська війна , อักษรโรมัน: rosiisko-ukrainska viina .
↑ Many countries have provided various levels of support to Ukraine short of becoming belligerents in the war, while Belarus has provided Russian forces territorial access for the 2022 invasion.
อ้างอิง
↑ "Russia's military aggression against Ukraine: EU imposes sanctions against President Putin and Foreign Minister Lavrov and adopts wide ranging individual and economic sanctions" . consilium.europa.eu . 28 February 2022.
↑ Sinoruka, Fjori (28 February 2022). "Albania Unveils Sanctions on Russia Over Attack on Ukraine" . BalkanInsight . สืบค้นเมื่อ 28 February 2022 .
↑ "Australian sanctions on Russia: who do they target and will they have an impact?" . theguardian.com . 24 February 2022.
↑ "Canada announces new sanctions against Russia. This is what they're targeting" . ctvnews.ca . 24 February 2022.
↑ "Iceland to Take Part in Sanctions Against Russia, Ministers Say" . Iceland Review . 24 February 2022.
↑ "Japan announces more sanctions on Russia after Ukraine invasion" . japantimes.co.jp . 25 February 2022.[ลิงก์เสีย ]
↑ Sulaj, Agim (25 February 2022). "Kosova i vendos sanksione Rusisë" [Kosovo imposes sanctions on Russia] (ภาษาแอลเบเนีย). Anadolu Agency . สืบค้นเมื่อ 28 February 2022 .
↑ "Liechtenstein issues sanctions against Putin" . europe-cities.com . 1 March 2022. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม เมื่อ 2022-03-01. สืบค้นเมื่อ 2022-03-01 .
↑ "Monaco clamps down on Russian assets after Ukraine invasion" . Reuters . 28 February 2022. สืบค้นเมื่อ 28 February 2022 .
↑ "New Zealand announces bans on Russia in response to Ukraine invasion" . rnz.co.nz . 24 February 2022. สืบค้นเมื่อ 25 February 2022 .
↑ "Од 17-тата седница на Владата: Северна Македонија се придружува кон ЕУ со санкциите кон Руската Федерација" [From the 17th session of the Government: North Macedonia joins the EU with sanctions against the Russian Federation] (ภาษามาซิโดเนีย). Government of North Macedonia. 24 February 2022. สืบค้นเมื่อ 28 February 2022 .{{cite web }}
: CS1 maint: url-status (ลิงก์ )
↑ "Norway Decides to Drop Russia From $1.3 Trillion Wealth Fund" . Bloomberg . 28 February 2022.
↑ "Singapore to impose sanctions on Russia, including export controls and certain bank transactions: Vivian Balakrishnan" . CNA . 28 February 2022. สืบค้นเมื่อ 28 February 2022 .{{cite web }}
: CS1 maint: url-status (ลิงก์ )
↑ "South Korea to join economic sanctions against Russia" . channelnewsasia.com . 24 February 2022. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม เมื่อ 2022-02-25. สืบค้นเมื่อ 25 February 2022 .
↑ "Neutral Swiss poised to freeze Russian assets - president" . Reuters . 28 February 2022. สืบค้นเมื่อ 28 February 2022 .{{cite web }}
: CS1 maint: url-status (ลิงก์ )
↑ Pei-ju, Teng (25 February 2022). "Taiwan to join international sanctions against Russia" . focustaiwan.tw . เก็บ จากแหล่งเดิมเมื่อ 25 February 2022. สืบค้นเมื่อ 25 February 2022 .
↑ "PM Johnson unveils UK's largest-ever sanctions against Russia" . reuters.com . 24 February 2022.
↑ "Joined by Allies and Partners, the United States Imposes Devastating Costs on Russia" . whitehouse.gov . 24 February 2022. สืบค้นเมื่อ 25 February 2022 .
↑ "EU to mobilize cyber team to help Ukraine fight Russian cyberattacks" . politico.eu . 21 February 2022.
↑ "Australia promises cyber support to Ukraine as Russian forces array along its borders" . abc.net.au . 20 February 2022.
↑ "Canada providing cyber 'support' to Ukraine against Russian invasion. Here's what we know" . globalnews.ca . 24 February 2022.
↑ "The U.S. is Working to Improve Ukraine's Cyber Defenses in the Face of Russian Threat" . nextgov.com . 1 February 2022.
↑ "South Ossetia recognises independence of Donetsk People's Republic" . Information Telegraph Agency of Russia. 27 June 2014. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม เมื่อ 2016-11-17. สืบค้นเมื่อ 31 January 2022 .
↑ Alec, Luhn (6 November 2014). "Ukraine's rebel 'people's republics' begin work of building new states" . The Guardian (ภาษาอังกฤษ). Donetsk . สืบค้นเมื่อ 31 January 2022 . The two 'people's republics' carved out over the past seven months by pro-Russia rebels have not been recognised by any countries, and a rushed vote to elect governments for them on Sunday was declared illegal by Kiev, Washington and Brussels.
↑ "Общая информация" [General Information]. Official site of the head of the Lugansk People's Republic (ภาษารัสเซีย). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม เมื่อ 12 March 2018. สืบค้นเมื่อ 11 March 2018 . 11 июня 2014 года Луганская Народная Республика обратилась к Российской Федерации, а также к 14 другим государствам, с просьбой о признании её независимости. К настоящему моменту независимость республики признана провозглашенной Донецкой Народной Республикой и частично признанным государством Южная Осетия. [Translated: On June 11, 2014, the Luhansk People's Republic turned to the Russian Federation, as well as to 14 other states, with a request to recognize its independence. To date, the republic's independence has been recognized by the proclaimed Donetsk People's Republic and the partially recognized state of South Ossetia.]
↑ Lister, Tim; Kesa, Julia (24 February 2022). "Ukraine says it was attacked through Russian, Belarus and Crimea borders". CNN. Kyiv. Archived from the original on 24 February 2022. Retrieved 24 February 2022.
↑ https://www.nytimes.com/interactive/2022/world/europe/ukraine-maps.html
↑ "Russian Lieutenant General Alexander Lentsov leading Russian groups in Debaltseve" . YouTube, LifeNews. 18 February 2015. สืบค้นเมื่อ 18 February 2015 .
↑ Книга пам'яті загиблих [Memorial Book to the Fallen]. Herman Shapovalenko, Yevhen Vorokh, Yuriy Hirchenko (ภาษายูเครน). สืบค้นเมื่อ 31 January 2015 .
↑ "Книга пам'яті загиблих" . memorybook.org.ua . สืบค้นเมื่อ 3 February 2022 .
↑ 31.0 31.1 31.2 "ООН підрахувала кількість жертв бойових дій на Донбасі" . Radio Liberty . 19 February 2021. สืบค้นเมื่อ 19 February 2021 .
↑ "UNIAN: 70 missing soldiers officially reported over years of war in Donbas" . Ukrainian Independent Information Agency. 6 September 2019. สืบค้นเมื่อ 6 September 2019 .
↑ "Militants held in captivity 180 Ukrainian servicemen" . คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม เมื่อ 2 April 2015. สืบค้นเมื่อ 16 March 2015 .
↑ Isaac Webb (22 April 2015). "An Eye for an Eye: Ukraine's POW Problem" . The Moscow Times . เก็บ จากแหล่งเดิมเมื่อ 18 May 2015. สืบค้นเมื่อ 25 April 2015 .
↑ "Donbas rebels still hold 300 Ukraine army servicemen and civilians prisoners" . zik.ua . 2 May 2015. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม เมื่อ 2020-11-26. สืบค้นเมื่อ 2022-03-02 .
↑ Pike, John. "Ukrainian Military Personnel" . www.globalsecurity.org .
↑ "В жертву "Оплотам": Почему тормозит модернизация Т-64" . www.depo.ua .
↑ "The overview of the current social and humanitarian situation in the territory of the Donetsk People's Republic as a result of hostilities between 23 and 29 January 2021" . Human rights Ombudsman in the Donetsk People's Republic. สืบค้นเมื่อ 3 February 2022 .
↑ Bellal, Annyssa (2016). The War Report: Armed Conflict in 2014 . Oxford University Press. p. 302. ISBN 978-0-19-876606-3 . สืบค้นเมื่อ 17 October 2016 .
↑ Snyder, Timothy (2018). The Road to Unfreedom: Russia, Europe, America . New York: Tim Duggan Books. p. 197. ISBN 978-0-525-57447-7 . Almost everyone lost the Russo-Ukrainian war: Russia, Ukraine, the EU, the United States. The only winner was China. ; Mulford, Joshua P. (2016). "Non-State Actors in the Russo-Ukrainian War" . Connections . 15 (2): 89–107. doi :10.11610/Connections.15.2.07 . ISSN 1812-1098 . JSTOR 26326442 . ; Shevko, Demian; Khrul, Kristina (2017). "Why the Conflict Between Russia and Ukraine Is a Hybrid Aggression Against the West and Nothing Else" . ใน Gutsul, Nazarii; Khrul, Kristina (บ.ก.). Multicultural Societies and their Threats: Real, Hybrid and Media Wars in Eastern and South-Eastern Europe . Zürich: LIT Verlag Münster. p. 100. ISBN 978-3-643-90825-4 .
↑ Aid convoy stops short of border as Russian military vehicles enter Ukraine: Armoured personnel carriers and support vehicles cross the border, while the 280-truck convoy comes to a halt separately , Shaun Walker, The Guardian, 15 August 2014
↑ อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref>
ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ Putin Ukraine statehood
↑ Overland, Indra; Fjaertoft, Daniel (2015). "Financial Sanctions Impact Russian Oil, Equipment Export Ban's Effects Limited" . Oil and Gas Journal . 113 (8): 66–72.