Share to:

 

สมองอักเสบ

สมองอักเสบ
(Encephalitis)
ภาพ MRI T2 แนว coronal แสดงให้เห็นสมองซึ่งมี high signal ใน temporal lobe รวมถึง hippocampal formations และ parahippocampal gyrae, insulae และ inferior frontal gyrus ด้านขวา ผลชิ้นเนื้อสมองของผู้ป่วยรายนี้พบว่าเป็นสมองอักเสบ ทำ PCR จากชิ้นเนื้อพบว่ามี HSV
สาขาวิชาประสาทวิทยา, โรคติดเชื้อ
อาการปวดศีรษะ, มีไข้, สับสน, คอแข็งเกร็ง, อาเจียน[1]
ภาวะแทรกซ้อนโรคลมชัก, พูดลำบาก, memory problems, problems hearing[1]
ระยะดำเนินโรคใช้เวลาฟื้นตัวหลายสัปดาห์ถึงหลายเดือน[1]
ประเภทHerpes simplex, West Nile, rabies, Eastern equine, others[2]
สาเหตุการติดเชื้อ, ภูมิต้านตนเอง, ยาบางชนิด, อาจไม่พบสาเหตุ[2]
วิธีวินิจฉัยวินิจฉัยจากอาการ, การตรวจเลือด, ภาพถ่ายรังสีระบบประสาท, การตรวจน้ำไขสันหลัง[2]
การรักษายาต้านไวรัส, ยาต้านชัก, สเตียรอยด์, การช่วยหายใจ[1]
พยากรณ์โรคมีได้หลากหลาย[1]
ความชุก4.3 ล้านคน (ค.ศ. 2015)[3]
การเสียชีวิต150,000 คน (ค.ศ. 2015)[4]

สมองอักเสบ (อังกฤษ: encephalitis) เป็นภาวะซึ่งมีการอักเสบเฉียบพลันของสมอง หากเกิดร่วมกับเยื่อหุ้มสมองอักเสบเรียกว่าเยื่อหุ้มสมองและสมองอักเสบ อาการที่พบได้เช่นปวดศีรษะ ไข้ สับสน ซึม และอ่อนเพลีย หากเป็นมากอาจมีอาการรุนแรง เช่น ชัก สั่น ประสาทหลอน ความจำเสื่อม เป็นต้น[5]

สาเหตุ

เชื้อไวรัส

สมองอักเสบจากไวรัสอาจเกิดจากการติดเชื้อโดยตรงจากการติดเชื้อเฉียบพลัน หรือเป็นผลตามภายหลังจากการติดเชื้อแฝงก็ได้ ไวรัสที่ทำให้เกิดสมองอักเสบเฉียบพลันจากไวรัสที่พบบ่อยคือ ไวรัสพิษสุนัขบ้า เฮอร์ปีส์ โปลิโอ หัด และไวรัสเจซี สาเหตุอื่นเช่นการติดเชื้อไวรัสในกลุ่มฟลาวิไวรัส เช่น ไวรัสไข้สมองอักเสบญี่ปุ่น ไวรัสสมองอักเสบเซนต์หลุยส์ ไวรัสเวสต์ไนล์ หรือไวรัสในกลุ่มโทกาไวรัส เช่น ไวรัสสมองอักเสบในม้าชนิดตะวันออก ไวรัสสมองอักเสบในม้าชนิดตะวันตก หรือไวรัสสมองอักเสบในม้าชนิดเวเนซุเอลา นอกจากนี้ไวรัสในกลุ่มเฮนิพาไวรัส เฮนดราไวรัส และนิพาห์ไวรัส ก็สามารถทำให้เกิดสมองอักเสบจากไวรัสได้

เชื้อแบคทีเรีย

ภาวะภูมิต้านตนเอง

การรักษา

การป้องกัน

อ้างอิง

  1. 1.0 1.1 1.2 1.3 1.4 อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ NIH207Main
  2. 2.0 2.1 2.2 อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ NIH2017Fact
  3. อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ GBD2015Pre
  4. อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ GBD2015De
  5. "โรคไข้สมองอักเสบ (Encephalitis)". ประชาชื่น MRI. 2020-03-20. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2021-04-18. สืบค้นเมื่อ 2021-03-08.

แหล่งข้อมูลอื่น

การจำแนกโรค
ทรัพยากรภายนอก
Kembali kehalaman sebelumnya