Share to:

 

แหล่งขุดค้นทางโบราณคดีมนุษย์ปักกิ่ง โจวโข่วเตี้ยน

แหล่งขุดค้นทางโบราณคดีมนุษย์ปักกิ่ง โจวโข่วเตี้ยน *
  แหล่งมรดกโลกโดยยูเนสโก
ประเทศมณฑลฉ่านซี  จีน
ประเภทมรดกโลกทางวัฒนธรรม
เกณฑ์พิจารณา(iii) (vi)
ประวัติการขึ้นทะเบียน
ขึ้นทะเบียน2530 (คณะกรรมการสมัยที่ 11)
* ชื่อตามที่ได้ขึ้นทะเบียนในบัญชีแหล่งมรดกโลก
** ภูมิภาคที่จัดแบ่งโดยยูเนสโก

แหล่งขุดค้นทางโบราณคดีมนุษย์ปักกิ่ง โจวโข่วเตี้ยน (จีนตัวย่อ: 周口店北京人遗址; จีนตัวเต็ม: 周口店北京人遺跡, โจวโข่วเตี้ยนเป่ยจิงเหรินอี๋จี่) คือแหล่งมรดกโลกที่ตั้งอยู่ในเขตกรุงปักกิ่ง ประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน เป็นแหล่งขุดค้นพบกระดูกของมนุษย์ปักกิ่ง ซึ่งมีชีวิตอยู่ประมาณ 200,000 ถึง 750,000 ปีก่อน ค้นพบครั้งแรกเมื่อราวปี พ.ศ. 2464 - 2466 (ค.ศ. 1921 - 1923) โดยนักธรณีวิทยาชาวสวีเดน โยฮัน กันเนอร์ อันเดอส์สัน (Johan Gunnar Andersson)

มรดกโลก

แหล่งขุดค้นทางโบราณคดีมนุษย์ปักกิ่ง โจวโข่วเตี้ยนได้ลงทะเบียนเป็นมรดกโลกในการประชุมคณะกรรมการมรดกโลกสมัยสามัญครั้งที่ 30 เมื่อปี พ.ศ. 2530 ที่กรุงวิลนีอุส ประเทศลิทัวเนีย ด้วยข้อกำหนดและหลักเกณฑ์ในการพิจารณา ดังนี้

  • (iii) - เป็นสิ่งที่ยืนยันถึงหลักฐานของวัฒนธรรมหรืออารยธรรมที่ปรากฏให้เห็นอยู่ในปัจจุบันหรือว่าที่สาบสูญไปแล้ว
  • (vi) - มีความคิดหรือความเชื่อที่เกี่ยวข้องโดยตรงกับเหตุการณ์ หรือมีความโดดเด่นยิ่งในประวัติศาสตร์

อ้างอิง

Kembali kehalaman sebelumnya