ไทยลีก 3 ฤดูกาล 2567–68 โซนภาคกลาง เป็นส่วนหนึ่งของการแข่งขันไทยลีก 3 ฤดูกาล 2567–68 ซึ่งเป็นการแข่งขันในระดับที่ 3 ในระบบลีกฟุตบอลไทย และเป็นการแข่งขันฤดูกาลที่ 8 ของไทยลีก 3 นับตั้งแต่ก่อตั้งลีกเมื่อ พ.ศ. 2560
ซึ่งเป็นฤดูกาลแรกที่ได้มีการปรับโครงสร้าง โดยได้มีการยุบโซนกรุงเทพและปริมณฑล และเปลี่ยนเป็นโซนภาคกลาง เพื่อให้สอดคล้องกับการกระจายตัวทางภูมิศาสตร์ของสโมสรมากขึ้น[1]
สโมสร
ที่ตั้งของสโมสรในการแข่งขันไทยลีก 3 ฤดูกาล 2567–68 – โซนภาคกลาง
สโมสรที่เข้าแข่งขันในฤดูกาล 2567–68 โซนภาคกลาง มีจำนวน 11 สโมสร โดยแบ่งเป็นสโมสรจากโซนกรุงเทพและปริมณฑล จำนวน 6 สโมสร สโมสรจากโซนภาคตะวันตก จำนวน 4 สโมสร และสโมสรที่เลื่อนชั้นจากไทยแลนด์ เซมิโปรลีก โซนกรุงเทพและปริมณฑล จำนวน 1 สโมสร
สนามเหย้า ที่ตั้ง และผลงานฤดูกาลที่แล้ว
สโมสร
|
ที่ตั้ง
|
สนามเหย้า
|
ความจุ
|
อันดับฤดูกาล 2566–67
|
จามจุรี ยูไนเต็ด
|
กรุงเทพมหานคร (ปทุมวัน)
|
สนามกีฬาเทพหัสดิน
|
6,378
|
8 (กทม.)
|
โดม
|
ปทุมธานี (ธัญบุรี)
|
สนามกีฬามหาวิทยาลัยกรุงเทพ วิทยาเขตรังสิต
|
800
|
1 (ทีเอส)
|
ทหารอากาศ
|
ปทุมธานี (ลำลูกกา)
|
สนามกีฬาธูปะเตมีย์
|
25,000
|
7 (กทม.)
|
พราม แบงค็อก
|
กรุงเทพมหานคร (หลักสี่)
|
สนามบุณยะจินดา
|
4,402
|
6 (กทม.)
|
มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต
|
กรุงเทพมหานคร (มีนบุรี)
|
เอสตาดิโอ เกษม
|
1,000
|
5 (กทม.)
|
มหาวิทยาลัยนอร์ทกรุงเทพ
|
ปทุมธานี (ธัญบุรี)
|
สนามกีฬามหาวิทยาลัยนอร์ทกรุงเทพ วิทยาเขตรังสิต
|
1,550
|
2 (กทม.)
|
มหาวิทยาลัยปทุมธานี
|
พระนครศรีอยุธยา
|
สนามกีฬาราชคราม สปอร์ตคลับ บางไทร
|
1,000
|
1 (ตะวันตก)
|
ลพบุรี ซิตี้
|
ลพบุรี
|
สนามกีฬาองค์การบริหารส่วนจังหวัดลพบุรี
|
1,000
|
5 (ตะวันตก)
|
สระบุรี ยูไนเต็ด
|
สระบุรี
|
สนามกีฬาองค์การบริหารส่วนจังหวัดสระบุรี
|
7,000
|
4 (ตะวันตก)
|
อ่างทอง
|
อ่างทอง
|
สนามกีฬาองค์การบริหารส่วนจังหวัดอ่างทอง
|
5,000
|
2 (ตะวันตก)
|
เอยูยู อินเตอร์ แบงค็อก
|
กรุงเทพมหานคร (มีนบุรี)
|
สนามกีฬาเฉลิมพระเกียรติ 72 พรรษา
|
10,000
|
11 (กทม.)
|
ข้อมูลสโมสร
ผู้เล่นต่างชาติ
สำหรับการขึ้นทะเบียนผู้เล่นต่างชาติ กำหนดให้เป็นนักกีฬาฟุตบอลต่างชาติสัญชาติทั่วไปไม่เกิน 3 คน
- Note :
: ผู้เล่นที่ปล่อยตัวระหว่างตลาดซื้อขายนักเตะครั้งที่ 2
: ผู้เล่นที่ลงทะเบียนระหว่างตลาดซื้อขายนักเตะครั้งที่ 2
↔: ผู้เล่นที่มีสองสัญชาติ
→: ผู้เล่นที่ออกจากสโมสรหลังจากลงทะเบียนในเลกแรกหรือเลกที่สอง
|
ผู้เล่นต่างชาติทั่วไป
|
|
ผู้เล่นต่างชาติ (เอเชีย)
|
|
ผู้เล่นต่างชาติ (อาเซียน)
|
|
ไม่มีการลงทะเบียนผู้เล่นต่างชาติ
|
สโมสร
|
เลก
|
ผู้เล่นรายที่ 1
|
ผู้เล่นรายที่ 2
|
ผู้เล่นรายที่ 3
|
จามจุรี ยูไนเต็ด
|
เลกที่ 1
|
แอลีเย โลบูเอต
|
ทิสฮาน ฮานลีย์
|
|
เลกที่ 2
|
|
|
โดม
|
เลกที่ 1
|
|
|
|
เลกที่ 2
|
ทหารอากาศ
|
เลกที่ 1
|
เบนจามิน ซาห์
|
เอ็มมานูเอล ควาเม อะคาดอม
|
ซอ ย็อง-ฮุน
|
เลกที่ 2
|
|
|
|
พราม แบงค็อก
|
เลกที่ 1
|
อาเล็กซันดาร์ มูทิก
|
อาเล็กซันเดอร์ ทคักซ์
|
วิลเลียม ควิสต์
|
เลกที่ 2
|
|
|
|
มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต
|
เลกที่ 1
|
เคนเนดี โอโซเบียลู
|
ทอมัส ชินอนโซ
|
โซซูเกะ คิมูระ
|
เลกที่ 2
|
|
|
|
มหาวิทยาลัยนอร์ทกรุงเทพ
|
เลกที่ 1
|
โมฮาเหม็ด กูอาดียอ
|
คัง อึย-ชัน
|
ซอ มิน-กุก
|
เลกที่ 2
|
|
|
|
มหาวิทยาลัยปทุมธานี
|
เลกที่ 1
|
เอริก คูมี
|
อ็องรี โฌแอล
|
เรียว โทมิกาฮาระ
|
เลกที่ 2
|
|
|
|
ลพบุรี ซิตี้
|
เลกที่ 1
|
ญุดซง
|
อเล็กซ์ เมอร์มอซ
|
ฮามเซฮ์ ซะรี
|
เลกที่ 2
|
|
|
|
สระบุรี ยูไนเต็ด
|
เลกที่ 1
|
ซานติอาโก กอร์รัล
|
อาดู แดเนียล อีคูอูคูนี
|
เหยา เนียนผิง
|
เลกที่ 2
|
|
|
|
อ่างทอง
|
เลกที่ 1
|
มูอาซีร์
|
คารัม อีดริส
|
โกเน อาบูบาการ์
|
เลกที่ 2
|
|
|
|
เอยูยู อินเตอร์ แบงค็อก
|
เลกที่ 1
|
แมมมัด กูลิเยฟ
|
อาบราเวา
|
โมฮัมเหม็ด ราเบีย จูเนียร์
|
เลกที่ 2
|
|
|
|
การเปลี่ยนแปลงที่ตั้ง และอัตลักษณ์
การเปลี่ยนแปลงผู้จัดการทีม
สโมสร
|
ผู้จัดการทีมที่ออก
|
สาเหตุที่ออก
|
วันที่ออก
|
อันดับในตารางคะแนน
|
ผู้จัดการทีมที่เข้าแทน
|
วันที่เข้า
|
สระบุรี ยูไนเต็ด
|
ชวภณ กมลสินธุ์
|
แยกทาง
|
กุมภาพันธ์ 2567
|
ก่อนเริ่มฤดูกาล
|
อดิเรก พันธ์ไพโรจน์
|
28 มีนาคม 2567[2]
|
ลพบุรี ซิตี้
|
อชิระ ทองเจิม
|
นิรุจน์ สุระเสียง
|
2 พฤษภาคม 2567[3]
|
เอยูยู อินเตอร์ แบงค็อก
|
คำรณ สำราญพันธ์
|
สันติชัย อนุสิม
|
กรกฎาคม 2567
|
อ่างทอง
|
เยิร์ค สเตนบรุนเนอร์
|
เมษายน 2567
|
ประจักษ์ เวียงสงค์
|
6 มิถุนายน 2567[4]
|
พราม แบงค็อก
|
ธิดารัตน์ วิวาสุขุ
|
ปรับโครงสร้าง
|
กรกฎาคม 2567
|
ธัญญาภรณ์ คล้ายขำ
|
กรกฎาคม 2567
|
เอยูยู อินเตอร์ แบงค็อก
|
สันติชัย อนุสิม
|
แยกทาง
|
23 กันยายน 2567
|
อันดับที่ 9
|
อภิรักษ์ ศรีอรุณ
|
23 กันยายน 2567
|
อ่างทอง
|
ประจักษ์ เวียงสงค์
|
ลาออก
|
13 ตุลาคม 2567[5]
|
อันดับที่ 10
|
ยศดนัย นาคทับทิม (รักษาการ)
|
14 ตุลาคม 2567
|
ลพบุรี ซิตี้
|
นิรุจน์ สุระเสียง
|
แยกทาง
|
15 ตุลาคม 2567[6]
|
อันดับที่ 2
|
ปณิธาน มั่นประเทศ
|
16 ตุลาคม 2567
|
อ่างทอง
|
ยศดนัย นาคทับทิม (รักษาการ)
|
สิ้นสุดระยะเวลารักษาการ
|
13 พฤศจิกายน 2567
|
อันดับที่ 10
|
วริศ บุญศรีพิทยานนท์
|
13 พฤศจิกายน 2567[7]
|
มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต
|
กฤษณ์ สิงห์ปรีชา
|
แยกทาง
|
21 พฤศจิกายน 2567[8]
|
อันดับที่ 4
|
ครองพล ดาวเรือง
|
26 พฤศจิกายน 2567[9]
|
สระบุรี ยูไนเต็ด
|
อดิเรก พันธ์ไพโรจน์
|
24 พฤศจิกายน 2567
|
อันดับที่ 8
|
จารุวัฒน์ ยอดชู
|
28 พฤศจิกายน 2567[10]
|
เอยูยู อินเตอร์ แบงค็อก
|
อภิรักษ์ ศรีอรุณ
|
24 พฤศจิกายน 2567
|
อันดับที่ 10
|
ณัฐวุฒิ อู่สุวรรณทิม
|
5 ธันวาคม 2567[11]
|
ตารางคะแนน
อันดับ
ปรับปรุงข้อมูลล่าสุดในนัดการแข่งขันที่ลงเล่นในวันที่ 24 พฤศจิกายน 2567. แหล่งข้อมูล:
ไทยลีกกฏการจัดอันดับ:
ก่อนสิ้นสุดฤดูกาล : 1.คะแนนรวม 2.ผลต่างประตูได้-เสีย 3.จำนวนประตูได้
4.จำนวนนัดที่ชนะ
เมื่อสิ้นสุดฤดูกาลแล้ว: 1.คะแนนรวม 2.ผลการแข่งขันระหว่างทีมที่คะแนนเท่ากัน 3.ผลต่างประตูได้-เสียจากการแข่งขันระหว่างทีมที่คะแนนเท่ากัน 4.จำนวนประตูได้จากการแข่งขันระหว่างทีมที่คะแนนเท่ากัน 5.ผลต่างประตูได้-เสียจากทุกนัด 6.จำนวนประตูได้จากทุกนัด 7.คะแนนใบเหลือง-ใบแดง 8.เพลย์ออฟ 1 นัด ถ้าเสมอกันในเวลาปกติให้ดวลลูกโทษตัดสิน
[12]
อันดับตามสัปดาห์
ตารางด้านล่างนี้จะแสดงอันดับบนตารางคะแนนในแต่ละสัปดาห์ เพื่อที่จะแสดงถึงพัฒนาการของแต่ละสโมสร การแข่งขันที่ถูกเลื่อนออกไปจะไม่แสดงในตาราง แต่จะถูกนับรวมกับการแข่งขันอีกนัดเมื่อได้มีการแข่งขันนั้นเกิดขึ้นใหม่ เช่น การแข่งขันนัดที่ 13 ถูกเลื่อนไประหว่างนัดที่ 16 และ 17 ผลตารางคะแนนจะถูกปรับปรุงในนัดที่ 16
ปรับปรุงล่าสุดในการแข่งขันเมื่อวันที่ 24 พฤศจิกายน 2567 อ้างอิง:
ไทยลีก
ผลการแข่งขันที่ลงเล่น
ปรับปรุงล่าสุดในการแข่งขันเมื่อวันที่ 24 พฤศจิกายน 2567 อ้างอิง:
ไทยลีกN = ไม่มีการแข่งขัน;
W = ชนะ;
D = เสมอ;
L = แพ้
ผลการแข่งขัน
นับผลการแข่งขันล่าสุดถึงวันที่ 24 พฤศจิกายน 2567. ที่มา:
ไทยลีกสีฟ้าหมายถึงทีมเหย้าชนะ สีเหลืองหมายถึงเสมอกัน และสีแดงหมายถึงทีมเยือนชนะ
สถิติ
ผู้ทำประตูสูงสุด
- ณ วันที่ 24 พฤศจิกายน 2567
แฮตทริก
คลีนชีตส์
- ณ วันที่ 24 พฤศจิกายน 2567
ผู้ชม
สถิติผู้ชมทั้งหมด
ปรับปรุงล่าสุดในนัดการแข่งขันเมื่อวันที่ 24 พฤศจิกายน 2567
แหล่งข้อมูล: ไทยลีก
หมายเหตุ:'
↑ สโมสรที่เลื่อนชั้นจากไทยแลนด์ เซมิโปรลีก
จำนวนผู้ชมจากเกมเหย้า
แหล่งที่มา: ไทยลีก
หมายเหตุ:
Unk.1 ข้อผิดพลาดในการรายงานการแข่งขันเมื่อวันที่ 14 กันยายน 2567 (มหาวิทยาลัยปทุมธานี 1–0 จามจุรี ยูไนเต็ด)
Unk.2 ข้อผิดพลาดในการรายงานการแข่งขันเมื่อวันที่ 2 พฤศจิกายน 2567 (เอยูยู อินเตอร์ แบงค็อก 0–0 ทหารอากาศ)
อ้างอิง
|
---|
|
สโมสร |
---|
สโมสรที่แข่งขันในฤดูกาลปัจจุบัน (2567–68) | |
---|
สโมสรที่เคยแข่งขันในไทยลีก 3 | |
---|
|
|
|
|
---|
|
ทีมชาติ | ฟุตบอลชาย | |
---|
ฟุตบอลหญิง | |
---|
ฟุตซอลชาย | |
---|
ฟุตซอลหญิง | |
---|
|
---|
การแข่งขันในลีก | ระดับที่ 1 | |
---|
ระดับที่ 2 | |
---|
ระดับที่ 3 | |
---|
ระดับที่ 4 | |
---|
ระดับที่ 5 | |
---|
ฟุตบอลเยาวชน | |
---|
ฟุตบอลหญิง | |
---|
ฟุตซอลลีก | |
---|
|
---|
การแข่งขันชิงถ้วย | |
---|
|