จังหวัดพิจิตรในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2539
|
|
4 ที่นั่งในสภาผู้แทนราษฎรไทย |
---|
ลงทะเบียน | 378,789 |
---|
ผู้ใช้สิทธิ | 65.65% |
---|
|
|
การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดพิจิตร พ.ศ. 2539 เป็นส่วนหนึ่งของการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2539 กำหนดให้มีขึ้นในวันที่ 17 พฤศจิกายน พ.ศ. 2539 โดยแบ่งเขตการเลือกตั้งออกเป็น 2 เขตเลือกตั้ง มีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้ 4 คน จำนวนที่นั่งเท่าเดิมจากการเลือกตั้งครั้งก่อนเมื่อปี พ.ศ. 2538 แต่ละเขตเลือกตั้งจะมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้เขตละ 2 คน[1]
ภาพรวม
ผลการเลือกตั้งแบบแบ่งเขต
สัญลักษณ์และความหมาย
|
* |
ส.ส.ระบบเขตเลือกตั้งที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
|
** |
ส.ส.ระบบบัญชีรายชื่อที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
|
† |
ผู้สมัครที่ถูกตัดสิทธิ์
|
✔ |
ผู้สมัครที่เคยดำรงตำแหน่งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรมาแล้ว
|
( ) |
หมายเลขประจำตัวของผู้สมัคร
|
ตัวหนา |
ผู้สมัครที่ชนะการเลือกตั้ง
|
เขตเลือกตั้งที่ 1
เขตการเลือกตั้งที่ 1 ประกอบด้วยอำเภอเมืองพิจิตร, อำเภอสามง่าม, อำเภอโพธิ์ประทับช้าง, อำเภอวังทรายพูน และกิ่งอำเภอสากเหล็ก
ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 1 จังหวัดพิจิตร
|
พรรค
|
ผู้สมัคร
|
คะแนนเสียง
|
%
|
±
|
|
ประชาธิปัตย์
|
ประดิษฐ์ ภัทรประสิทธิ์ (2)*
|
107,332
|
88.99
|
|
|
ประชาธิปัตย์
|
ไพฑูรย์ แก้วทอง (1)*
|
93,797
|
77.77
|
|
|
ชาติไทย
|
บุญเสริม ถาวรกูล (3)✔
|
28,426
|
23.57
|
|
|
ชาติไทย
|
โสภณ สิทธิเกษร (4)
|
725
|
0.60
|
|
|
แรงงานไทย
|
อำนาจ เถียรอ่ำ (5)
|
336
|
0.27
|
|
|
แรงงานไทย
|
สุจิตรา เถียรอ่ำ (6)
|
272
|
0.22
|
|
บัตรดี
|
120,598
|
95.83
|
–
|
ไม่ประสงค์ลงคะแนน
|
1,291
|
1.03
|
–
|
บัตรเสีย
|
3,945
|
3.14
|
–
|
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง
|
125,834
|
68.06
|
–
|
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง
|
184,878
|
100.00
|
—
|
|
ประชาธิปัตย์
รักษาที่นั่ง
|
|
ประชาธิปัตย์
ได้ที่นั่งจาก ความหวังใหม่
|
เขตเลือกตั้งที่ 2
เขตการเลือกตั้งที่ 2 ประกอบด้วยอำเภอตะพานหิน, อำเภอบางมูลนาก, อำเภอโพทะเล, อำเภอทับคล้อ, กิ่งอำเภอดงเจริญ และกิ่งอำเภอบึงนาราง
ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 2 จังหวัดพิจิตร
|
พรรค
|
ผู้สมัคร
|
คะแนนเสียง
|
%
|
±
|
|
ประชาธิปัตย์
|
พลตรี สนั่น ขจรประศาสน์ (1)*
|
85,293
|
71.92
|
|
|
ประชาธิปัตย์
|
วิทยา สุขิตานนท์ (2)
|
58,426
|
49.26
|
|
|
ความหวังใหม่
|
พันตำรวจโท อดุลย์ บุญเสรฐ (3)*
|
55,622
|
46.90
|
|
|
เอกภาพ
|
พันตำรวจโท สานิตย์ สุรังษี (7)✔
|
28,406
|
23.95
|
|
|
พลังธรรม
|
ว่าที่ร้อยตรี นคร ดิวรางกูร (5)
|
1,735
|
1.46
|
|
|
ความหวังใหม่
|
สุรชัย ตี่โชติ (4)
|
1,309
|
1.10
|
|
|
เอกภาพ
|
ชลลดา สุรังษี (8)
|
859
|
0.72
|
|
|
พลังธรรม
|
ดนัย ดิวรางกูร (6)
|
249
|
0.20
|
|
|
แรงงานไทย
|
นิภาพรรณ ทัดคุ้ม (9)
|
153
|
0.12
|
|
|
แรงงานไทย
|
กิตติพรรณ ทัดคุ้ม (10)
|
92
|
0.07
|
|
บัตรดี
|
118,593
|
96.55
|
–
|
ไม่ประสงค์ลงคะแนน
|
609
|
0.50
|
–
|
บัตรเสีย
|
3,628
|
2.95
|
–
|
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง
|
122,830
|
63.34
|
–
|
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง
|
193,911
|
100.00
|
—
|
|
ประชาธิปัตย์
รักษาที่นั่ง
|
|
ประชาธิปัตย์
ได้ที่นั่งจาก ความหวังใหม่
|
ดูเพิ่ม
อ้างอิง
|
---|
เลือกตั้งทั่วไป | |
---|
เลือกตั้งซ่อม | |
---|