จังหวัดพิจิตรในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2548
|
← พ.ศ. 2544 |
6 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2548 |
พ.ศ. 2549 (โมฆะ) → |
|
4 ที่นั่งในสภาผู้แทนราษฎรไทย |
---|
ผู้ใช้สิทธิ | 68.83% |
---|
|
First party
|
Second party
|
|
|
|
พรรค
|
ไทยรักไทย
|
ประชาธิปัตย์
|
ที่นั่งก่อนหน้า
|
1
|
3
|
ที่นั่งที่ชนะ
|
3
|
1
|
ที่นั่งเปลี่ยน
|
2
|
2
|
คะแนนเสียง
|
157,300
|
76,826
|
%
|
56.09
|
27.38
|
|
|
การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดพิจิตร พ.ศ. 2548 เป็นส่วนหนึ่งของการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2548 กำหนดให้มีขึ้นในวันที่ 6 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2548 โดยแบ่งเขตการเลือกตั้งออกเป็น 4 เขตเลือกตั้ง[1] เท่าเดิมจากการเลือกตั้งครั้งก่อนเมื่อปี พ.ศ. 2544 แต่ละเขตเลือกตั้งจะมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้เขตละ 1 คน
ภาพรวม
ผลการเลือกตั้งแบบบัญชีรายชื่อ (รวมทั้งจังหวัดพิจิตร)
พรรค |
คะแนนเสียง
|
จน. |
%
|
|
ไทยรักไทย |
157,300 |
56.09%
|
|
ประชาธิปัตย์ |
76,826 |
27.38%
|
|
อื่น ๆ |
46,419 |
16.53%
|
ผลรวม |
280,545 |
100.00%
|
คะแนนเสียง |
|
|
|
ไทยรักไทย |
|
56.09% |
ประชาธิปัตย์ |
|
27.38% |
อื่น ๆ |
|
16.53% |
|
ผลการเลือกตั้งแบบบัญชีรายชื่อ (รายเขตเลือกตั้ง)
ผลการเลือกตั้งแบบแบ่งเขต (รวมทั้งจังหวัดพิจิตร)
พรรค |
จำนวน ผู้สมัคร |
คะแนนเสียง |
ที่นั่ง
|
จน. |
% |
จน. |
+/– |
%
|
|
ไทยรักไทย |
4 |
152,102 |
58.38% |
3 |
2 |
75.00%
|
|
ประชาธิปัตย์ |
4 |
84,726 |
31.66% |
1 |
2 |
25.00%
|
|
อื่น ๆ |
2 |
30,794 |
9.96% |
0 |
|
0.00%
|
ผลรวม |
10 |
267,622 |
100.00% |
4 |
|
100.00%
|
คะแนนเสียง |
|
|
|
ไทยรักไทย |
|
58.38% |
ประชาธิปัตย์ |
|
31.66% |
อื่น ๆ |
|
9.96% |
|
ที่นั่ง |
|
|
|
ไทยรักไทย |
|
75.00% |
ประชาธิปัตย์ |
|
25.00% |
|
ผลการเลือกตั้งแบบแบ่งเขต (รายเขตเลือกตั้ง)
ผลการเลือกตั้งแบบบัญชีรายชื่อ
ก • ค ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อ จังหวัดพิจิตร
พรรค
|
คะแนนเสียง
|
ร้อยละ
|
|
ชาติไทย (1)
|
5,052
|
1.80
|
|
กิจสังคม (2)
|
552
|
0.20
|
|
พัฒนาชาติไทย (3)
|
760
|
0.27
|
|
ประชาธิปัตย์ (4)
|
76,826
|
27.38
|
|
ประชาชนไทย (5)
|
576
|
0.21
|
|
คนขอปลดหนี้ (6)
|
1,511
|
0.54
|
|
ธรรมชาติไทย (7)
|
456
|
0.16
|
|
แผ่นดินไทย (8)
|
881
|
0.31
|
|
ไทยรักไทย (9)
|
157,300
|
56.09
|
|
ความหวังใหม่ (10)
|
472
|
0.17
|
|
มหาชน (11)
|
27,086
|
9.65
|
|
ประชากรไทย (12)
|
363
|
0.13
|
|
ไทยช่วยไทย (13)
|
553
|
0.20
|
|
แรงงาน (14)
|
2,580
|
0.92
|
|
ชาติประชาธิปไตย (15)
|
942
|
0.34
|
|
กสิกรไทย (16)
|
171
|
0.06
|
|
ทางเลือกที่สาม (17)
|
202
|
0.07
|
|
รักษ์ถิ่นไทย (18)
|
398
|
0.14
|
|
พลังเกษตรกร (19)
|
3,511
|
1.25
|
|
พลังประชาชน (20)
|
353
|
0.13
|
|
บัตรดี
|
280,545
|
95.76
|
บัตรเสีย
|
10,539
|
3.60
|
ไม่ประสงค์ลงคะแนน
|
1,897
|
0.65
|
ผู้มาใช้สิทธิ์เลือกตั้ง
|
292,981
|
68.83
|
ผู้มีสิทธิ์เลือกตั้ง
|
425,670
|
100.00
|
ผลการเลือกตั้งแบบแบ่งเขต
สัญลักษณ์และความหมาย
|
* |
ส.ส.ระบบเขตเลือกตั้งที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
|
** |
ส.ส.ระบบบัญชีรายชื่อที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
|
† |
ผู้สมัครที่ถูกตัดสิทธิ์
|
✔ |
ผู้สมัครที่เคยดำรงตำแหน่งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรมาแล้ว
|
( ) |
หมายเลขประจำตัวของผู้สมัคร
|
ตัวหนา |
ผู้สมัครที่ชนะการเลือกตั้ง
|
เขตเลือกตั้งที่ 1
เขตการเลือกตั้งที่ 1 ประกอบด้วยอำเภอวังทรายพูน อำเภอเมืองพิจิตร (ยกเว้นตําบลย่านยาว ตําบลคลองคะเชนทร์ ตําบลโรงช่าง และตําบลเมืองเก่า)และกิ่งอำเภอสากเหล็ก
ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 1 จังหวัดพิจิตร
|
พรรค
|
ผู้สมัคร
|
คะแนนเสียง
|
%
|
±
|
|
ประชาธิปัตย์
|
ประดิษฐ์ ภัทรประสิทธิ์ (4)*
|
38,360
|
56.39
|
|
|
ไทยรักไทย
|
เสริมสุข เลาหชัยอรุณ (9)
|
29,662
|
43.61
|
|
ผลรวม
|
68,022
|
100.00
|
—
|
|
บัตรดี
|
68,022
|
91.88
|
–
|
ไม่ประสงค์ลงคะแนน
|
724
|
0.98
|
–
|
บัตรเสีย
|
5,289
|
7.14
|
–
|
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง
|
74,035
|
70.22
|
–
|
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง
|
105,436
|
100.00
|
—
|
|
ประชาธิปัตย์
รักษาที่นั่ง
|
เขตเลือกตั้งที่ 2
เขตการเลือกตั้งที่ 2 ประกอบด้วยอำเภอวชิรบารมี อำเภอสามง่าม อำเภอโพธิ์ประทับช้างและอำเภอเมืองพิจิตร (เฉพาะตําบลย่านยาว ตําบลคลองคะเชนทร์ ตําบลโรงช่าง และตําบลเมืองเก่า)
ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 2 จังหวัดพิจิตร
|
พรรค
|
ผู้สมัคร
|
คะแนนเสียง
|
%
|
±
|
|
ไทยรักไทย
|
สุณีย์ เหลืองวิจิตร (9)
|
35,510
|
50.97
|
|
|
ประชาธิปัตย์
|
นราพัฒน์ แก้วทอง (4)*
|
34,044
|
48.87
|
|
|
รักษ์ถิ่นไทย
|
พัชราภรณ์ แก้วทอง (18)
|
115
|
0.16
|
|
ผลรวม
|
69,669
|
100.00
|
—
|
|
บัตรดี
|
69,669
|
91.48
|
–
|
ไม่ประสงค์ลงคะแนน
|
705
|
0.93
|
–
|
บัตรเสีย
|
5,782
|
7.59
|
–
|
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง
|
76,156
|
69.80
|
–
|
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง
|
109,195
|
100.00
|
—
|
|
ไทยรักไทย
ได้ที่นั่งจาก ประชาธิปัตย์
|
เขตเลือกตั้งที่ 3
เขตการเลือกตั้งที่ 3 ประกอบด้วยอำเภอบางมูลนาก อำเภอโพทะเลและกิ่งอำเภอบึงนาราง
ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 3 จังหวัดพิจิตร
|
พรรค
|
ผู้สมัคร
|
คะแนนเสียง
|
%
|
±
|
|
ไทยรักไทย
|
นาวิน บุญเสรฐ (9)
|
34,265
|
51.88
|
|
|
มหาชน
|
ศิริวัฒน์ ขจรประศาสน์ (11)*
|
30,679
|
46.45
|
|
|
ประชาธิปัตย์
|
วิทยา กรวยศิริวงศ์ (4)
|
1,107
|
1.67
|
|
ผลรวม
|
66,051
|
100.00
|
—
|
|
บัตรดี
|
66,051
|
91.06
|
–
|
ไม่ประสงค์ลงคะแนน
|
889
|
1.23
|
–
|
บัตรเสีย
|
5,592
|
7.71
|
–
|
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง
|
72,532
|
68.18
|
–
|
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง
|
106,377
|
100.00
|
—
|
|
ไทยรักไทย
ได้ที่นั่งจาก ประชาธิปัตย์
|
เขตเลือกตั้งที่ 4
เขตการเลือกตั้งที่ 4 ประกอบด้วยอำเภอตะพานหิน อำเภอทับคล้อและกิ่งอำเภอดงเจริญ
ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 4 จังหวัดพิจิตร
|
พรรค
|
ผู้สมัคร
|
คะแนนเสียง
|
%
|
±
|
|
ไทยรักไทย
|
พันตำรวจโท อดุลย์ บุญเสรฐ (9)*
|
52,665
|
82.44
|
|
|
ประชาธิปัตย์
|
ภาคภูมิ ถาวรกูล (4)
|
11,215
|
17.56
|
|
ผลรวม
|
63,880
|
100.00
|
—
|
|
บัตรดี
|
63,880
|
90.92
|
–
|
ไม่ประสงค์ลงคะแนน
|
1,243
|
1.77
|
–
|
บัตรเสีย
|
5,134
|
7.31
|
–
|
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง
|
70,257
|
67.07
|
–
|
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง
|
104,752
|
100.00
|
—
|
|
ไทยรักไทย
รักษาที่นั่ง
|
ดูเพิ่ม
อ้างอิง
|
---|
เลือกตั้งทั่วไป | |
---|
เลือกตั้งซ่อม | |
---|