การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2544 การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2544
| | | ทั้งหมด 500 ที่นั่งในสภาผู้แทนราษฎรไทย ต้องการ 251 ที่นั่งจึงเป็นฝ่ายข้างมาก |
---|
ลงทะเบียน | 42,759,001 |
---|
ผู้ใช้สิทธิ | 69.94% ( 7.52 จุด) |
---|
|
First party
|
Second party
|
Third party
|
|
|
|
|
ผู้นำ
|
ทักษิณ ชินวัตร
|
ชวน หลีกภัย
|
บรรหาร ศิลปอาชา
|
พรรค
|
ไทยรักไทย
|
ประชาธิปัตย์
|
ชาติไทย
|
ผู้นำตั้งแต่
|
14 กรกฎาคม 2541
|
26 มกราคม 2534
|
17 พฤษภาคม 2537
|
เขตของผู้นำ
|
บัญชีรายชื่อ (#1)
|
บัญชีรายชื่อ (#1)
|
สุพรรณบุรี เขต 4
|
เลือกตั้งล่าสุด
|
–
|
123 ที่นั่ง, 31.78%
|
39 ที่นั่ง, 9.88%
|
ที่นั่งที่ชนะ
|
248
|
128
|
41
|
ที่นั่งเปลี่ยน
|
พรรคใหม่
|
5
|
2
|
คะแนนเสียง
|
11,634,495
|
7,610,789
|
1,516,192
|
%
|
40.64%
|
26.58%
|
5.23%
|
%เปลี่ยน
|
พรรคใหม่
|
5.92 จุด
|
4.65 จุด
|
|
|
Fourth party
|
Fifth party
|
Sixth party
|
|
|
|
|
ผู้นำ
|
ชวลิต ยงใจยุทธ
|
กร ทัพพะรังสี
|
ประจวบ ไชยสาส์น
|
พรรค
|
ความหวังใหม่
|
ชาติพัฒนา
|
เสรีธรรม
|
ผู้นำตั้งแต่
|
16 ตุลาคม 2533
|
30 ธันวาคม 2541
|
15 กันยายน 2543
|
เขตของผู้นำ
|
บัญชีรายชื่อ (#1)
|
บัญชีรายชื่อ (#1)
|
บัญชีรายชื่อ (#1)
|
เลือกตั้งล่าสุด
|
125 ที่นั่ง, 29.14%
|
52 ที่นั่ง, 12.38%
|
4 ที่นั่ง, 1.24%
|
ที่นั่งที่ชนะ
|
36
|
29
|
14
|
ที่นั่งเปลี่ยน
|
89
|
23
|
10
|
คะแนนเสียง
|
1,996,227
|
1,752,981
|
821,736
|
%
|
6.89%
|
6.05%
|
2.82%
|
%เปลี่ยน
|
22.25 จุด
|
6.33 จุด
|
1.58 จุด
|
|
ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขต รหัสสี: ไทยรักไทย, ประชาธิปัตย์, ชาติไทย, ความหวังใหม่,ชาติพัฒนา, อื่น ๆ แต่ละจังหวัดอาจประกอบด้วยที่นั่งเดียวหรือหลายที่นั่งก็ได้ โดยสีที่ปรากฏนี้บ่งบอกถึงพรรคที่ได้ที่นั่งมากที่สุดในจังหวัดนั้น |
องค์ประกอบของสภาผู้แทนราษฎร หลังจากการเลือกตั้ง |
|
การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2544 เป็นการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเป็นการทั่วไปครั้งที่ 20[1] จัดขึ้นเมื่อวันที่ 6 มกราคม พ.ศ. 2544 โดยสาเหตุมาจากที่ ชวน หลีกภัย นายกรัฐมนตรี ได้ประกาศยุบสภา เมื่อวันที่ 9 พฤศจิกายน พ.ศ. 2543[2] นับว่าเป็น การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรครั้งแรกในระบบของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2540 ซึ่งแบ่งเป็นระบบบัญชีรายชื่อ 100 คน และแบบแบ่งเขตเลือกตั้งอีก 400 คน ภายใต้การกำกับดูแลและจัดการเลือกตั้งของสำนักงานคณะกรรมการการเลือกตั้ง
การเลือกตั้งในครั้งนี้เป็นการเลือกตั้งครั้งแรกที่มีการพิจารณาเรื่องร้องเรียนผลการเลือกตั้ง ก่อนประกาศรับรอง และมีการประกาศให้จัดการเลือกตั้งใหม่ โดยในการรับรองผลการเลือกตั้งในรอบแรก มีการรับรองจำนวนทั้งสิ้น 338 คน และประกาศให้เลือกตั้งใหม่ 62 เขตเลือกตั้ง
การย้ายสังกัดพรรคการเมือง
ย้ายไปพรรคถิ่นไทย
- พิจิตต รัตตกุล อดีต สส. กรุงเทพมหานคร และอดีตผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร
ย้ายไปพรรคไทยรักไทย
ย้ายไปพรรคเสรีธรรม
ย้ายไปพรรคชาติพัฒนา
ย้ายไปพรรคไทยรักไทย
ย้ายไปพรรคไทยรักไทย
ย้ายไปพรรคประชาธิปัตย์
- เรวัต สิรินุกุล สส.กาญจนบุรี
ย้ายไปพรรคไทยรักไทย
ย้ายไปพรรคความหวังใหม่
ย้ายไปพรรคไทยรักไทย
ย้ายไปพรรคราษฎร
ย้ายไปพรรคไทยรักไทย
ย้ายไปพรรคไทยรักไทย
ยุบรวมกับพรรคความหวังใหม่
ย้ายไปพรรคไทยรักไทย
ย้ายไปพรรคชาติไทย
รูปแบบการเลือกตั้ง
ระบบบัญชีรายชื่อ
ผลการเลือกตั้ง
ผลอย่างเป็นทางการ
ก • ค
ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2544
|
พรรค
|
แบบแบ่งเขต
|
แบบบัญชีรายชื่อ
|
รวม
|
คะแนนเสียง
|
%
|
ที่นั่ง
|
คะแนนเสียง
|
%
|
ที่นั่ง
|
ที่นั่ง
|
%
|
|
ไทยรักไทย
|
|
|
200
|
11,634,495
|
40.64%
|
48
|
248
|
49.6%
|
|
ประชาธิปัตย์
|
|
|
97
|
7,610,789
|
26.58%
|
31
|
128
|
25.6%
|
|
ชาติไทย
|
|
|
35
|
1,523,807
|
5.32%
|
6
|
41
|
8.2%
|
|
ความหวังใหม่
|
|
|
28
|
2,008,948
|
7.02%
|
8
|
36
|
7.2%
|
|
ชาติพัฒนา
|
|
|
22
|
1,755,476
|
6.13%
|
7
|
29
|
5.8%
|
|
เสรีธรรม
|
|
|
14
|
807,902
|
2.82%
|
0
|
14
|
2.8%
|
|
ราษฎร
|
|
|
2
|
356,831
|
1.25%
|
0
|
2
|
0.4%
|
|
ถิ่นไทย
|
|
|
1
|
604,049
|
2.11%
|
0
|
1
|
0.2%
|
|
กิจสังคม
|
|
|
1
|
44,926
|
0.16%
|
0
|
1
|
0.2%
|
อื่น ๆ
|
|
|
–
|
2,281,979
|
7.97%
|
–
|
–
|
–
|
|
คะแนนสมบูรณ์
|
|
100%
|
400
|
28,629,202
|
100%
|
100
|
500
|
100%
|
|
ไม่ประสงค์ลงคะแนน
|
1,002,083
|
3.35%
|
|
530,599
|
1.77%
|
|
คะแนนเสีย
|
2,992,081
|
10.01%
|
745,829
|
2.49%
|
จำนวนผู้มาใช้สิทธิ์เลือกตั้ง
|
29,904,940
|
69.94%
|
29,909,271
|
69.95%
|
จำนวนผู้มีสิทธิ์เลือกตั้ง
|
42,759,001
|
|
42,759,001
|
|
|
ที่มา: คลังสารสนเทศของสถาบันนิติบัญญัติ
|
หลังการเลือกตั้ง
คณะกรรมการการเลือกตั้ง ได้กำหนดให้มีการเลือกตั้งใหม่ดังต่อไปนี้
- 29 มกราคม พ.ศ. 2544 มีการจัดการเลือกตั้งใหม่ 62 เขต[4] หลังจากที่รับรอง สส.แบ่งเขตไป 338 คน
- ในวันที่ 30 มิถุนายน พ.ศ. 2544 จำนวน 7 เขตเลือกตั้ง ได้แก่ กาญจนบุรี เขต 5 ขอนแก่น เขต 10 นครนายก เขต 2 บุรีรัมย์ เขต 5 สุรินทร์ เขต 4 อุบลราชธานี เขต 1 และเขต 10 ซึ่งผลการเลือกตั้งพรรคไทยรักไทย ได้ 3 ที่นั่ง ชาติไทย 2 ที่นั่ง ความหวังใหม่ 1 ที่นั่ง และราษฎร 1 ที่นั่ง
- ในวันที่ 18 สิงหาคม พ.ศ. 2544 จำนวน 2 เขตเลือกตั้ง ได้แก่ นครนายก เขต 2 และอุบลราชธานี เขต 10 ซึ่งผลการเลือกตั้งพรรคชาติไทย และพรรคราษฎร ได้ไปพรรคละ 1 ที่นั่ง
- ในวันที่ 3 มีนาคม พ.ศ. 2545 จำนวน 14 เขตเลือกตั้ง ได้แก่ กรุงเทพมหานคร เขต 4 และเขต 26 กาฬสินธุ์ เขต 2 จันทบุรี เขต 1 นครพนม เขต 3 นนทบุรี เขต 3 เพชรบูรณ์ เขต 4 มหาสารคาม เขต 2 มุกดาหาร เขต 2 ลพบุรี เขต 3 ศรีสะเกษ เขต 1 และเขต 5 สิงห์บุรี เขต 2 และอุทัยธานี เขต 1 ซึ่งผลการเลือกตั้งพรรคชาติพัฒนา และไทยรักไทย พรรคละ 4 ที่นั่ง ความหวังใหม่ ประชาธิปัตย์ และชาติไทย พรรคละ 2 ที่นั่ง
- ในวันที่ 8 กันยายน พ.ศ. 2545 ที่จังหวัดอุบลราชธานี เขต 10 ผลการเลือกตั้ง นายกิตติพงษ์ เทียมสุวรรณ จากพรรคไทยรักไทยได้รับเลือกตั้ง
- ในวันที่ 1 มิถุนายน พ.ศ. 2546 ที่จังหวัดศรีสะเกษ เขต 1 ผลการเลือกตั้ง นายธเนศ เครือรัตน์ จากพรรคไทยรักไทยได้รับเลือกตั้ง
- ในวันที่ 12 ตุลาคม พ.ศ. 2546 ที่จังหวัดนนทบุรี เขต 3 ผลการเลือกตั้ง นางพิมพา จันทร์ประสงค์ จากพรรคไทยรักไทยได้รับเลือกตั้ง
- ในวันที่ 22 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2547 ที่จังหวัดสงขลา เขต 3 ผลการเลือกตั้ง นายวิรัตน์ กัลยาศิริ จากพรรคประชาธิปัตย์ ได้รับเลือกตั้ง
- ในวันที่ 20 มีนาคม พ.ศ. 2547 ที่จังหวัดนครปฐม เขต 3 ผลการเลือกตั้ง นายประสิทธิ์ ภักดีพาณิชพงศ์ จากพรรคไทยรักไทย ได้รับเลือกตั้ง
อ้างอิง
ดูเพิ่ม
|
---|
ลำดับเหตุการณ์กราฟิก พ.ศ. 2475–2516 |
---|
|
| ลำดับเหตุการณ์กราฟิก พ.ศ. 2516–2544 |
---|
|
| ลำดับเหตุการณ์กราฟิก พ.ศ. 2544–ปัจจุบัน |
---|
ลำดับเหตุการณ์ประวัติศาสตร์การเมืองไทย พ.ศ. 2544–ปัจจุบัน แถวแรก: = รัฐประหาร (คลิกเพื่อดูบทความ), การเลือกตั้งทั่วไป (คลิกเพื่อดูบทความ); แถวสอง: รายชื่อนายกรัฐมนตรี; แถวสาม: รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับที่)
นายกรัฐมนตรีจากรัฐประหาร |
| |
---|
| | ตัวเอียง หมายถึง ฉบับชั่วคราว |
|
| | เหตุการณ์สำคัญทางการเมือง |
---|
|
|
|
|