Share to:

 

ประตูกั้นชานชาลา

ประตูกั้นชานชาลาของสถานีรถไฟใต้ดินเซนต์ปีเตอส์เบิร์ก
ประตูกั้นชานชาลาของสถานีรถไฟใต้ดินสิงคโปร์
ประตูกั้นชานชาลาของสถานีรถไฟฟ้าปารีส สาย 14
ประตูกั้นชานชาลาของสถานีรถไฟใต้ดินบาร์เซโลนา
ประตูกั้นชานชาลาของสถานีรถไฟใต้ดินไทเป
ประตูกั้นชานชาลาของสถานีรถไฟฟ้าเชื่อมท่าอากาศยานโทรอนโต
ประตูกั้นชานชาลาของสถานีรถไฟใต้ดินควังจู
ประตูกั้นชานชาลาของสถานีรถไฟใต้ดินลอนดอน
ประตูกั้นชานชาลาของสถานีรถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล กรุงเทพมหานคร
ประตูกั้นชานชาลาของ รถไฟฟ้าบีทีเอส

ประตูกั้นชานชาลา (อังกฤษ: Platform screen doors, PSDs) เป็นประตูที่กั้นระหว่างชานชาลาสถานีรถไฟฟ้าและขบวนรถไฟฟ้า ส่วนใหญ่มักจะติดตั้งพร้อมกับวันเปิดเดินรถ หรือภายหลังจากนั้น ประตูกั้นชานชาลาแห่งแรกของโลก อยู่ที่สถานีรถไฟใต้ดินเซนต์ปีเตอส์เบิร์ก ซึ่งเปิดใน ค.ศ. 1961 ประตูกั้นชานชาลามีสองแบบหลักแบ่งตามความสูง ได้แก่ แบบเต็มความสูงขบวนรถ และแบบครึ่งความสูงขบวนรถ ประตูกั้นชานชาลานอกจากจะช่วยป้องกันไม่ให้ผู้โดยสารตกลงรางรถไฟแล้ว ยังช่วยกักอากาศเย็นภายในสถานีเพื่อเป็นการประหยัดพลังงาน[1]

การใช้งาน

ไทย

บราซิล

  • รถไฟใต้ดินเซาเปาลู
    •   สายสีเขียว ติดตั้งเมื่อวันที่ 30 มกราคม ค.ศ. 2010
    •   สายสีเหลือง ติดตั้งเมื่อปี ค.ศ. 2010 - ค.ศ. 2011 [2]

แคนาดา

จีน

เดนมาร์ก

ฟินแลนด์

ฝรั่งเศส

อินเดีย

อิตาลี

ญี่ปุ่น

โตเกียวเมโทร ติดตั้งประตูกั้นชานชาลาในปี ค.ศ. 1991 พร้อมกับเปิดเส้นทางสายนัมโบะกุ

มาเลเซีย

ติดตั้งในสถานีรถไฟใต้ดินในสายเกอลานาจายา ทุกสถานี

เกาหลีใต้

ติดตั้งในรถไฟใต้ดินโซล สาย 2 ที่ สถานียงดู เป็นสถานีแรก ปัจจุบันกำลังติดตั้งให้เสร็จภายใน ค.ศ. 2018[8]

ไต้หวัน

  • รถไฟใต้ดินไทเป
    •   สายสีน้ำตาล (สายเหวินหู)
    •   สายสีแดง (สายตั้นซุ่ยชินยี่)
    •   สายสีเขียว (สายซงชานซินเตี้ยน)
    •   สายสีส้ม (สายจงเห้อชินลู่)
    •   สายน้ำเงิน (สายป่านนาน)
    •   สายสีเหลือง (สายวงกลม)
  • รถไฟฟ้าจังหวัดเกาซุยง
    •   สายสีส้ม
    •   สายสีแดง

อุบัติเหตุ

อ้างอิง

  1. "ประตูกั้นชานชาลา (Platform Screen Door)". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2013-03-27. สืบค้นเมื่อ 2013-05-26.
  2. [1] เก็บถาวร 2008-05-17 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน, São Paulo Metro Official website
  3. 3.0 3.1 TTC plans suicide barriers on Yonge line
  4. "WPSD Platform Screen Door System - Case Study". Platformscreendoors.com. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2008-06-26. สืบค้นเมื่อ 2009-08-01.
  5. "Vuosaari platform doors introduced on 15 February". HKL. 2012-02-17. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2013-05-13. สืบค้นเมื่อ 2012-03-20.
  6. "Media Kit - Airport Express". Reliance Airport Express Metro. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2011-08-29. สืบค้นเมื่อ 9 November 2011.
  7. "Metro to get platform screen doors". Times of India. Jan 5, 2011. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2013-11-11. สืบค้นเมื่อ 9 November 2011.
  8. 잇단 투신에도…국철 스크린도어 설치는 '서행' เก็บถาวร 2013-01-14 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน Hankooki.com (in Korean)

แหล่งข้อมูลอื่น

Kembali kehalaman sebelumnya