x
{\displaystyle x}
sin
x
x
{\displaystyle {\frac {\sin x}{x}}}
1
0.841471...
0.1
0.998334...
0.01
0.999983...
ถึงแม้ว่าฟังก์ชัน (sin x )/x จะไม่นิยามที่ 0 แต่เมื่อ x มีค่าเข้าใกล้ 0 มาก ๆ แล้ว (sin x )/x มีค่าเข้าใกล้ 1 หรืออีกนัยหนึ่ง ลิมิตของ (sin x )/x เมื่อ x เข้าใกล้ 0 มีค่าเท่ากับ 1
ในวิชาคณิตศาสตร์ ลิมิตของฟังก์ชัน เป็นแนวคิดพื้นฐานในคณิตวิเคราะห์ และแคลคูลัส ซึ่งเกี่ยวข้อกับพฤติกรรมของฟังก์ชัน ใกล้กับจุดที่สนใจจุดหนึ่ง
นิยามที่รัดกุมซึ่งนิยามเป็นครั้งแรกในช่วงต้นคริสต์ศตวรรษที่ 19 ระบุไว้ด้านล่าง สำหรับแนวคิดอย่างไม่รัดกุมมากนัก ฟังก์ชัน f จะรับค่า x แล้วคืนค่าออกมาคือ f(x) เราจะกล่าวว่า ฟังก์ชัน f มีลิมิต L ที่จุด p ก็ต่อเมื่อ ค่าของฟังก์ชัน f(x) จะเข้าใกล้ L มากขึ้นเรื่อย ๆ เมื่อกำหนดค่า x ที่เข้าใกล้ค่า p ให้กับฟังก์ชันมากขึ้นเรื่อย ๆ
แนวคิดเรื่องลิมิตเป็นหัวใจหลักของแคลคูลัสสมัยใหม่ โดยเฉพาะแนวคิดเรื่องความต่อเนื่องของฟังก์ชัน อาศัยแนวคิดเรื่องลิมิตเป็นพื้นฐาน กล่าวคือ ฟังก์ชันจะเป็นฟังก์ชันต่อเนื่องถ้าสำหรับแต่ละจุดค่าของมันจะเท่ากับค่าของลิมิตที่จุดนั้น นอกจากนี้แนวคิดเรื่องลิมิตยังปรากฏในนิยามของอนุพันธ์ ของฟังก์ชันอีกด้วย
แนวคิดเกี่ยวกับลิมิตยังขยายนัยทั่วไปออกไปบน ปริภูมิอิงระยะทาง และปริภูมิทอพอโลยี อีกด้วย
ประวัติ
ดูที่ คณิตวิเคราะห์
นิยามเป็นทางการ
นิยามแบบ (ε, δ) ของลิมิต
กำหนดให้
f
:
(
a
,
b
)
→
R
{\displaystyle f\colon (a,b)\to \mathbb {R} }
เป็นฟังก์ชันบนช่วงเปิด ที่เป็นสับเซตของเซตของจำนวนจริง และ
p
,
L
∈
R
{\displaystyle p,L\in \mathbb {R} }
เป็นจำนวนจริงโดยที่
p
∈
(
a
,
b
)
{\displaystyle p\in (a,b)}
เราจะกล่าวว่าลิมิตของ
f
{\displaystyle f}
เมื่อ
x
{\displaystyle x}
มีค่าเข้าใกล้
p
{\displaystyle p}
คือ
L
{\displaystyle L}
ก็ต่อเมื่อ
สำหรับทุกค่า
ε
>
0
{\displaystyle \varepsilon >0}
จะมีจำนวนจริง
δ
>
0
{\displaystyle \delta >0}
ที่ทำให้สำหรับทุกค่า
x
{\displaystyle x}
ถ้า
0
<
|
x
−
p
|
<
δ
{\displaystyle 0<\left\vert x-p\right\vert <\delta }
แล้ว
|
f
(
x
)
−
L
|
<
ε
{\displaystyle \left\vert f(x)-L\right\vert <\varepsilon }
ถ้าลิมิตของ
f
{\displaystyle f}
เมื่อ
x
{\displaystyle x}
มีค่าเข้าใกล้
p
{\displaystyle p}
คือ
L
{\displaystyle L}
แล้วเราจะเขียนแทนด้วยสัญลักษณ์
lim
x
→
p
f
(
x
)
=
L
{\displaystyle \lim _{x\to p}f(x)=L}
หรืออีกแบบหนึ่งได้เป็น
f
(
x
)
→
L
{\displaystyle f(x)\to L}
เมื่อ
x
→
p
{\displaystyle x\to p}
(อ่านว่า "
f
(
x
)
{\displaystyle f(x)}
มีค่าเข้าใกล้
L
{\displaystyle L}
เมื่อ
x
{\displaystyle x}
มีค่าเข้าใกล้
p
{\displaystyle p}
")
สังเกตว่านิยามลิมิตไม่ขึ้นอยู่กับค่าของ
f
{\displaystyle f}
ที่จุด
p
{\displaystyle p}
ยิ่งไปกว่านั้น
f
(
p
)
{\displaystyle f(p)}
ไม่จำเป็นต้องหาค่าได้
ฟังก์ชันบนปริภูมิอิงระยะทาง
กำหนดให้ f : (M ,dM ) -> (N ,dN ) เป็นการส่งค่าระหว่าง (เป็นฟังก์ชันที่นิยามบน) ปริภูมิอิงระยะทาง สองปริภูมิ, และกำหนดให้ p ∈M และ L ∈N , เราจะกล่าวว่า "ลิมิตของ f ที่ p คือ L " และเขียนว่า:
lim
x
→
p
f
(
x
)
=
L
{\textstyle \lim _{x\to p}f(x)=L}
ก็ต่อเมื่อ สำหรับทุกค่าของ ε > 0 จะมี δ > 0 ที่ สำหรับทุก ๆ x ∈M และ dM (x , p ) < δ แล้ว , dN (f (x ), L ) < ε
ลิมิตของฟังก์ชันค่าจริงที่จุดใดจุดหนึ่ง
ให้ f เป็นฟังก์ชันค่าจริง แล้ว
lim
x
→
p
f
(
x
)
=
L
{\displaystyle \lim _{x\to p}f(x)=L}
เป็นกรณีพิเศษของฟังก์ชันบนปริภูมิอิงระยะทาง ที่มีทั้ง M และ N เป็นเซตของจำนวนจริง และ d(x,y) = |x-y| .
หรือเราจะเขียน
lim
x
→
p
f
(
x
)
=
∞
{\displaystyle \lim _{x\to p}f(x)=\infty }
ก็ต่อเมื่อ
สำหรับทุกค่าของ R > 0 (ไม่ว่าจะใหญ่เท่าใด) จะต้องมี δ > 0 อย่างน้อยหนึ่งค่า ที่ สำหรับทุกค่าของจำนวนจริง x ที่ 0 < |x -p | < δ, f (x ) > R ;
หรือจะเขียนว่า
lim
x
→
p
f
(
x
)
=
−
∞
{\displaystyle \lim _{x\to p}f(x)=-\infty }
ก็ต่อเมื่อ
สำหรับทุกค่าของ R < 0 จะต้องมี δ > 0 อย่างน้อยหนึ่งค่า ที่ สำหรับทุกค่าของจำนวนจริง x ที่ 0 < |x -p | < δ, f (x ) < R .
ถ้าในนิยาม เราใช้ x -p แทน |x -p | เราก็จะได้ ลิมิตขวา เขียนแทนโดย :
lim
x
→
p
+
{\displaystyle \lim _{x\to p^{+}}}
และถ้าใช้ p -x แทน ก็จะได้ ลิมิตซ้าย เขียนแทนโดย :
lim
x
→
p
−
{\displaystyle \lim _{x\to p^{-}}}
ลิมิตของฟังก์ชันค่าจริง ณ อนันต์
จะมีลิมิตของฟังก์ชัน ณ อนันต์ ถ้า สำหรับ ε > 0 ใดๆ มี S > 0 อย่างน้อยหนึ่งค่า ที่ทำให้ |f(x)-L| < ε สำหรับ x > S ใดๆ
ให้ f (x ) เป็นฟังก์ชันค่าจริง เราจะพิจารณาลิมิตของฟังก์ชันเมื่อ x เพิ่มขึ้น หรือลดลงอย่างไม่มีที่สิ้นสุด
เราจะเขียน
lim
x
→
∞
f
(
x
)
=
L
{\displaystyle \lim _{x\to \infty }f(x)=L}
ฟังก์ชันค่าเชิงซ้อน
ระนาบเชิงซ้อน ที่มีตัววัด (metric) เป็น
d
(
x
,
y
)
:=
|
x
−
y
|
{\displaystyle d(x,y):=|x-y|}
จะเป็นปริภูมิอิงระยะทาง (metric space) ด้วยเช่นกัน
จะมีลิมิตสองประเภทเมื่อเราพูดถึงฟังก์ชันค่าเชิงซ้อน
ลิมิตของฟังก์ชันที่จุดใดจุดหนึ่ง
สมมติให้ f เป็นฟังก์ชันค่าเชิงซ้อน แล้วเราจะเขียนว่า
lim
x
→
p
f
(
x
)
=
L
{\displaystyle \lim _{x\to p}f(x)=L}
ได้ ก็ต่อเมื่อ
สำหรับ ε > 0 ใด ๆ จะมี δ >0 อย่างน้อย 1 ค่า ซึ่งสำหรับจำนวนจริง x ใด ๆ ซึ่ง 0<|x -p |<δ จะได้ |f (x )-L |<ε
นี่เป็นกรณีพิเศษของฟังก์ชันบนปริภูมิอิงระยะทางที่มีทั้ง M และ N เป็นระนาบเชิงซ้อน
ลิมิตของฟังก์ชัน ณ อนันต์
เราจะเขียน
lim
x
→
∞
f
(
x
)
=
L
{\displaystyle \lim _{x\to \infty }f(x)=L}
ได้ ก็ต่อเมื่อ
สำหรับ ε > 0 ใด ๆ จะมี S >0 ซึ่งสำหรับจำนวนเชิงซ้อน |x |>S ใด ๆ เราจะได้ |f (x )-L |<ε
ตัวอย่าง
ฟังก์ชันค่าจริง
lim
x
→
3
x
2
=
9
{\displaystyle \lim _{x\to 3}x^{2}=9}
ลิมิตของ x 2 เมื่อ x เข้าใกล้ 3 คือ 9 ในกรณีนี้ ฟังก์ชันนั้นต่อเนื่อง และค่าของมันมีนิยามที่จุดนั้น ค่าลิมิตจึงเท่ากับการแทนค่าฟังก์ชัน
lim
x
→
0
+
x
x
=
1
{\displaystyle \lim _{x\to 0^{+}}x^{x}=1}
ลิมิตของ xx เมื่อ x เข้าใกล้ 0 จากทางขวาคือ 1
lim
x
→
0
1
x
=
Undefined
{\displaystyle \lim _{x\to 0}{1 \over x}={\mbox{Undefined}}}
lim
x
→
0
+
1
x
=
+
∞
{\displaystyle \lim _{x\to 0^{+}}{1 \over x}=+\infty }
ลิมิตสองด้านของ 1/x เมื่อ x เข้าใกล้ 0 นั้นไม่มีนิยาม ลิมิตของ 1/x เมื่อ x เข้าใกล้ 0 จากทางขวาคือ +∞
lim
x
→
0
+
|
x
|
x
=
1
{\displaystyle \lim _{x\to 0^{+}}{|x| \over x}=1}
lim
x
→
0
−
|
x
|
x
=
−
1
{\displaystyle \lim _{x\to 0^{-}}{|x| \over x}=-1}
ลิมิตด้านเดียวของ |x |/x เมื่อ x เข้าใกล้ 0 คือ 1 จากด้านบวกและคือ -1 จากด้านลบ สังเกตว่า |x |/x = -1 เมื่อ x เป็นลบ และ |x |/x = 1 เมื่อ x เป็นบวก
lim
x
→
0
x
sin
1
x
=
1
{\displaystyle \lim _{x\to 0}x\sin {1 \over x}=1}
ลิมิตของ x sin(1/x ) เมื่อ x เข้าใกล้ 0 คือ 0
lim
|
x
|
→
∞
x
−
a
=
0
if
a
∈
R
;
a
>
0
;
x
∈
C
{\displaystyle \lim _{|x|\to \infty }x^{-a}=0{\mbox{ if }}a\in \mathbb {R} ;a>0;x\in \mathbb {C} }
ฟังก์ชันยกกำลังที่มีเลขชี้กำลังเป็นลบใด ๆ เข้าใกล้ 0 เมื่อขนาดของ x เพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ อย่างไม่มีขอบเขตจำกัด
lim
x
→
∞
x
a
b
x
=
0
if
a
,
b
∈
R
;
b
>
0
{\displaystyle \lim _{x\to \infty }{x^{a} \over b^{x}}=0{\mbox{ if }}a,b\in \mathbb {R} ;b>0}
ฟังก์ชันยกกำลังใด ๆ จะมีขนาดลดลงเป็นศูนย์ เทียบกับฟังก์ชันเลขชี้กำลังเพิ่มใด ๆ เมื่อ x เพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ อย่างไม่มีขอบเขตจำกัด
lim
x
→
∞
log
b
x
x
a
=
0
if
a
,
b
∈
R
;
a
>
0
;
b
>
0
{\displaystyle \lim _{x\to \infty }{\log _{b}x \over x^{a}}=0{\mbox{ if }}a,b\in \mathbb {R} ;a>0;b>0}
ฟังก์ชันลอการิทึมใด ๆ จะมีขนาดลดลงเป็นศูนย์ เทียบกับฟังก์ชันยกกำลังที่เป็นบวกใด ๆ เมื่อ x เพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ อย่างไม่มีขอบเขตจำกัด
lim
x
→
∞
a
x
x
!
=
0
if
a
∈
R
{\displaystyle \lim _{x\to \infty }{a^{x} \over x!}=0{\mbox{ if }}a\in \mathbb {R} }
ฟังก์ชันเลขชี้กำลังใด ๆ จะมีขนาดลดลงเป็นศูนย์ เทียบกับฟังก์ชันแฟกทอเรียลใด ๆ เมื่อ x เพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ อย่างไม่มีขอบเขตจำกัด
ฟังก์ชันบนปริภูมิอิงระยะทาง
ถ้า z เป็นจำนวนเชิงซ้อน โดยที่ |z | < 1 แล้วลำดับ z , z 2 , z 3 , ... ของจำนวนเชิงซ้อนจะลู่เข้าโดยมีลิมิตเป็น 0 โดยเรขาคณิตแล้ว จำนวนเหล่านี้จะ "เวียนเป็นก้นหอย" เข้าสู่จุดกำเนิด ตามเส้นก้นหอยลอการิทึม
ในปริภูมิอิงระยะทาง C[a,b] ของฟังก์ชันต่อเนื่องใด ๆ ที่นิยามบนช่วง [a,b] โดยมีระยะทางเพิ่มขึ้นจาก Supremum norm สมาชิกทุกตัวสามารถเขียนในรูปของลิมิตของลำดับของ ฟังก์ชันพหุนาม ได้ นี่คือเนื้อหาของ ทฤษฎีบทสโตน-ไวแยร์สตราสส์ (Stone-Weierstrass theorem)
คุณสมบัติ
ประโยค "ลิมิตของฟังก์ชัน f ที่ p คือ L " เหมือนกับประโยค
"สำหรับลำดับลู่เข้า (x n ) ใน M ซึ่งมีลิมิต เท่ากับ p ลำดับ (f (x n )) ลู่เข้าสู่ลิมิต L "
ในกรณีที่ f เป็นฟังก์ชันค่าจริง จะได้ว่า ประโยคนั้นเหมือนกับ "ทั้งลิมิตซ้ายและลิมิตขวาของ f ที่ p คือ L "
ฟังก์ชัน f ต่อเนื่อง ที่ p ก็ต่อเมื่อ เราสามารถหาค่าของลิมิตของ f (x ) เมื่อ x เข้าใกล้ p และค่านั้นเท่ากับ f (p )
หรืออีกนัยหนึ่ง ฟังก์ชัน f แปลงลำดับใด ๆ ใน M ซึ่งสู่เข้าหา p ไปเป็นลำดับ N ซึ่งลู่เข้าหา f (p )