Share to:

 

วิกิพีเดีย:โครงการวิกิสัตววิทยา

โครงการวิกิสัตววิทยา
สารานุกรมโลกของสัตว์บทความสัตว์รายชื่อสัตว์สัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังสัตว์มีกระดูกสันหลัง

ไฟลัมพอริเฟอราไฟลัมทีโนฟอราไฟลัมไนดาเรียไฟลัมแอนเนลิดาไฟลัมนีมอร์เทียไฟลัมเอไคโนดอร์มาทาไฟลัมแพลทีเฮลมินธิสไฟลัมนีมาโทดา
ไฟลัมมอลลัสคาไฟลัมอาร์โธรโพดา

ปลานกสัตว์เลื้อยคลานสัตว์สะเทินน้ำสะเทินบกสัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนม
สมาชิก
สารบัญ
สถิติบทความ
บทความสัตววิทยา ความสำคัญ
ไม่มี ทั้งหมด
คุณภาพ
 บทความคัดสรร คัดสรร  7 7
 บทความคุณภาพ คุณภาพ  6 6
ดี 61 61
พอใช้ 279 279
โครง 1107 1107
รายชื่อ 16 16
จัดระดับแล้ว 1476 1476
ยังไม่ได้จัดระดับ 438 438
ทั้งหมด 1914 1914

โครงการวิกิสัตววิทยา เป็นส่วนหนึ่งของสถานีย่อย:โลกของสัตว์ มีจุดมุ่งหมายเพื่อรวบรวมชีวิตความเป็นอยู่ของสัตว์ทุกประเภทในอาณาจักรสัตว์ ซึ่งเป็นอาณาจักรของสิ่งมีชีวิตที่ใหญ่ที่สุด ได้แก่สัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง เช่น ฟองน้ำ แมงกะพรุน พยาธิ แมลง ฯลฯ และสัตว์มีกระดูกสันหลัง เช่น ปลา นก สัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนม สัตว์เลื้อยคลานและสัตว์สะเทินน้ำสะเทินบก โดยเน้นหลักที่บทความสัตว์ทุกประเภท การดำรงชีวิตรวมถึงความสัมพันธ์ของสัตว์และสภาพสิ่งแวดล้อม และเพื่อเป็นการรวบรวมลักษณะทางกายวิภาค สรีรวิทยา พฤติกรรมและลักษณะที่แตกต่างกันตามแต่ละสายพันธุ์

นอกจากนี้โครงการวิกิสัตววิทยา ยังรวมสาขาย่อยทางด้านชีววิทยาในด้านสาขาอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง เช่นวิทยาเซลล์, วิทยาตัวอ่อน, สัณฐานวิทยา, โบราณชีววิทยา, พันธุศาสตร์และวิวัฒนาการ, อนุกรมวิธาน, พฤติกรรมวิทยา, นิเวศวิทยา และสัตวภูมิศาสตร์ เป็นต้น

สัตว์ เป็นสิ่งมีชีวิตเพียงชนิดเดียวในโลกที่มีชีวิตความเป็นอยู่อย่างน่าอัศจรรย์และพิศวง สามารถดำรงสถานะชีวิตความเป็นอยู่ตามธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม แม้กาลเวลาจะผันแปรเปลี่ยนไปตามยุคสมัย โครงการวิกิสัตววิทยาจึงเป็นโครงการที่ถือกำเนิดขึ้นเพื่อทุก ๆ คน ที่มีความรัก ความชอบและความสนใจเกี่ยวกับการศึกษาและการเรียนรู้เกี่ยวกับสัตว์ สนใจถึงธรรมชาติการเจริญเติบโตของสัตว์ตัวเล็ก ๆ เช่นมด แมลงจนกระทั่งถึงสัตว์ตัวใหญ่ยักษ์เช่นช้างหรือไดโนเสาร์ สำหรับก้าวแรกของทุกคนในการก้าวเข้าสู่โครงการ สามารถตรวจดูรายชื่อสัตว์ต่าง ๆ ภายในโลกนี้และดูรายชื่อสัตว์ต่าง ๆ ที่สนใจเพิ่มเติมได้ที่รายชื่อสัตว์

แม่แบบ

หน้าพูดคุย

ช่วยทำการจัดอันดับบทความด้วยการใส่{{บทความสัตววิทยา}}ในหน้าพูดคุยและจัดอันดับบทความโดยดูจากระดับการเขียนบทความด้านล่าง

โดยจะแสดงผลดังนี้:
โครงการวิกิสัตววิทยา เป็นส่วนหนึ่งของโครงการวิกิสัตววิทยาและสถานีย่อย โดยมีจุดมุ่งหมายเพื่อรวบรวมเรื่องราวทุกอย่างเกี่ยวกับสิ่งมีชีวิตที่เรียกว่า สัตว์ รวมถึงโครงสร้างทางกายวิภาคและสรีรวิทยาของระบบต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง เพื่อนำไปใช้ในการศึกษา ค้นคว้า และดูแลสิ่งมีชีวิต ทุกคนสามารถมีส่วนร่วมในโครงการนี้ได้ด้วยการช่วยกันพัฒนาบทความ โครงการวิกิสัตววิทยา หรือแวะไปที่หน้าโครงการหรือหน้าสถานีย่อยเพื่อดูข้อมูลเพิ่มเติม
??? บทความนี้ยังไม่ได้รับการพิจารณาตามการจัดระดับการเขียนบทความ

การจำแนกสายพันธุ์

{{taxobox}} (ตารางจำแนกพันธุ์)

บคความที่ไม่สมบูรณ์

ใส่แม่แบบนี้{{โครงสัตว์}}ถ้าคุณเห็นว่าบทความเกี่ยวกับสัตววิทยาบทความนั้นยังไม่สมบูรณ์

โดยจะแสดงผลดังนี้:


ติดกล่องผู้ใช้

ช่วยสนับสนุนโครงการของเราด้วยการติดกล่องผู้ใช้ {{User Zoology}} ที่หน้าผู้ใช้ของท่าน และอย่าลืมเพิ่มชื่อผู้ใช้ของคุณที่นี่!

โดยจะแสดงผล:
ผู้ใช้คนนี้เข้าร่วม
โครงการวิกิสัตววิทยา

มอบดาวเกียรติยศ

ดาวเชิดชูเกียรติแห่งสัตววิทยา มอบให้สำหรับผู้มีส่วนร่วมในการเขียนบทความที่เกี่ยวข้องกับสัตววิทยาอย่างมีนัยยะสำคัญ โดยติดแม่แบบ {{ดาวสรรพสัตว์|เหตุผล}} พร้อมลงชื่อผู้ใช้ที่หน้าพูดคุยของผู้ใช้ที่ได้รับดาว หลังจากติดป้ายจะแสดงผลดังนี้:
ดาวเชิดชูเกียรติแห่งสรรพสัตว์
เหตุผล --~~~~

บทความตัวอย่าง

ดัชนีรายชื่อ

ดัชนีรายชื่อ เป็นการรวบรวมรายชื่อสัตว์ทุกประเภท ทุกสายพันธุ์ เพื่อเป็นการง่ายและสะดวกต่อการสืบค้นหากทุกคนสนใจค้นหารายชื่อสัตว์ประเภทต่าง ๆ สามารถเพิ่มเติมรายชื่อสัตว์ที่ต้องการได้ตลอดเวลา เพื่อโครงการวิกิสัตววิทยา จะได้เป็นแหล่งรวบรวมรายชื่อสัตว์ต่าง ๆ ทั่วทุกมุมโลกมากที่สุดในประเทศไทย

ท่องไปในโลกของสัตว์

ท่องไปในโลกของสัตว์ เป็นการสำรวจรายชื่อและหมวดหมู่ของสัตว์ในบทความสัตว์ของวิกิพีเดียทุก ๆ คนสามารถเพิ่มเติมหมวดหมู่ ลบหมวดหมู่บทความสัตว์ใหม่ได้ตลอดเวลา ดูรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่การจัดหมวดหมู่

คู่มือวิธีการเขียนบทความสัตว์

คู่มือวิธีการเขียนบทความสัตว์ เป็นคู่มือแนะนำหลักการเขียนบทความสัตว์ในวิกิพีเดีย จากจุดเริ่มต้นของการเขียนบทความ จนสามารถไต่ระดับของการเขียนจาก {{โครง}} เพื่อให้ได้ระดับ {{บทความคัดสรร}} โดย ใช้แม่แบบ {{Taxobox}} หรือ {{ตารางจำแนกพันธุ์}} ในการจำแนกชั้นทางวิทยาศาสตร์สำหรับการจำแนกสิ่งมีชีวิตที่เรียกว่าสัตว์ โดยดูรายละเอียดการจำแนกชั้นทางวิทยาศาสตร์ได้ที่การอ่านตารางจำแนกพันธุ์

การใช้กล่องข้อมูลตารางจำแนกพันธุ์

การใช้กล่องข้อมูลตารางจำแนกพันธุ์ เป็นการแนะนำเบื้องต้นของการเริ่มเขียนบทความสัตว์ ทุก ๆ คนที่มีความสนใจที่จะเริ่มต้นการเขียนบทความสัตว์ในวิกิพีเดีย สามารถเริ่มต้นก้าวแรกของบทความ ด้วยการคัดลอกเอา code ของกล่องข้อมูลตารางจำแนกพันธุ์จากบทความสัตว์จากวิกิพีเดียภาษาอังกฤษ และนำมาใช้งานในวิกิพีเดียไทยได้ทั้งหมด เพราะการแสดงผลของกล่องข้อมูล ถูกกำหนดค่าไว้ให้สามารถแสดงผลเป็นภาษาไทย โดยลักษณะเฉพาะของกล่องข้อมูลตาราจำแนกพันธุ์สำหรับสัตว์ มีรายละเอียดดังนี้

  1. สีกล่องข้อความ เป็นสีที่ใช้สำหรับแบ่งแยกสิ่งมีชีวิตต่าง ๆ ตามโดเมนและอาณาจักร โดยสีของกล่องข้อมูลตารางจำแนกพันธุ์ จะจำแนกสีของกล่องข้อมูลให้โดยอัตโนมัติ สำหรับสีของอาณาจักรสัตว์ เป็นสี
    • โดยกำหนดในส่วนของ | regnum =Animalia สีของกล่องข้อมูลตารางจำแนกพันธุ์จะกำหนดสีให้อัตโนมัติทันที
  2. ชื่อสามัญ เป็นชื่อที่ใช้ในการเรียกขานสิ่งมีชีวิตกันทั่ว ๆ ไป โดยเขียนชื่อสามัญเพื่อกำหนดให้รู้ว่า สิ่งมีชีวิตนี้คืออะไร? แต่ถ้าสิ่งมีชีวิตชนิดนั้น ๆ ไม่มีชื่อสามัญที่เป็นที่ยอมรับ ผู้เริ่มต้นการเขียนบทความสามารถนำชื่อวิทยาศาสตร์ของสิ่งมีชีวิตนั้นมาใส่แทนได้
  3. ภาพของสิ่งมีชีวิต เป็นภาพที่ใช้แสดงเพื่อบ่งบอกลักษณะทางกายภาพของสิ่งมีชีวิต ส่วนใหญ่เป็นภาพถ่ายของสิ่งมีชีวิต แต่ในกรณีที่ไม่สามารถหาภาพถ่ายของสิ่งมีชีวิตได้ เช่นสิ่งมีชีวิตนั้นได้สูญพันธุ์ไปจากโลกนี้แล้ว สามารถใช้ภาพวาดของสิ่งมีชีวิตนั้นมาแทนได้
    • การนำภาพของสิ่งมีชีวิตมาใช้ประกอบในกล่องข้อมูลตารางจำแนกพันธุ์ สามารถใช้ได้ทั้งภาพแนวตั้งและแนวนอน โดยกำหนดขนาดของภาพที่นำมาใช้ที่ขนาด 250px
    • หากต้องการภาพของสิ่งมีชีวิตชนิดอื่น ๆ สามารถนำภาพสิ่งมีชีวิตสวย ๆ จากวิกิคอมมอนส์ อาณาจักรสัตว์มาประกอบบทความ
  4. คำบรรยาย เป็นคำบรรยายที่ใช้ในการอธิบายรายละเอียดภาพ แหล่งที่มา ชื่อผู้ถ่าย หรืออื่น ๆ ถ้าไม่สามารถกำหนดคำบรรยายได้ ให้ปล่อยว่างไว้ เช่นตัวอย่างคำบรรยายของภาพ "เสือโคร่งเป็นสัตว์ที่ชอบน้ำ ซึ่งแตกต่างจากเสือชนิดอื่น ๆ"
  5. การจำแนกชั้นทางวิทยาศาสตร์ เป็นการแสดงการจัดสายวิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิต ซึ่งจะสัมพันธ์กับลักษณะของสิ่งมีชีวิตนั้น ๆ ซึ่งประกอบด้วยชื่อชั้นการจำแนกต่าง ๆ เช่น
  6. ข้อมูลทั่วไป
    • ชื่อทวินาม หรือ ชื่อไตรนาม (หรือชื่อวิทยาศาสตร์) เป็นการเขียนชื่อที่กำหนดให้แก่สิ่งมีชีวิตในแต่ละสปีชีส์ เพื่อให้เข้าใจได้โดยทั่วกัน ถ้ามีสองส่วนเรียกชื่อทวินาม และถ้ามีสามส่วนก็เรียกชื่อไตรนาม และชื่อย่อนักวิทยาศาสตร์ เป็นชื่อย่อของนักวิทยาศาสตร์ผู้ตีพิมพ์ชื่อวิทยาศาสตร์นั้นเป็นครั้งแรก มักใส่ไว้ท้ายชื่อวิทยาศาสตร์ เมื่อกล่าวถึงเป็นครั้งแรกในงานตีพิมพ์ต่าง ๆ โดยมีกฎเกณฑ์บางประการคือใส่ชื่อสกุลเต็ม เมื่อใช้กับสัตว์ (มักใส่ปีที่ตีพิมพ์ด้วย) เช่น
    • สถานะการอนุรักษ์ เป็นการแสดงเฉพาะสิ่งมีชีวิตบางสปีชีส์เท่านั้น โดยเฉพาะในอาณาจักรสัตว์ ที่มีสถานการณ์การดำรงเผ่าพันธุ์ใกล้สูญพันธุ์หรือสูญพันธุ์ไปจากโลกนี้แล้ว แต่โดยส่วนมากในวิกิพีเดียไทยจะไม่นิยมเขียนไว้นอกจากสิ่งมีชีวิตนั้นอยู่ในสถานะที่วิกฤติต่อการสูญพันธุ์
  7. การกระจายและถิ่นอาศัย สิ่งมีชีวิตบางสปีชีส์ อาจมีข้อมูลสำรวจเรื่องถิ่นที่อยู่ นิยมที่จะทำแผนที่แสดงเขตถิ่นที่อยู่กำกับบทความ
  8. นอกเหนือจากนี้ อาจมีข้อมูลอื่น ๆ เช่นชื่อพ้อง (synonym) ฯลฯ

สถานะการอนุรักษ์

สถานะการอนุรักษ์ (Conservation status) เป็นตัวเลือกเสริมสำหรับแสดงสถานะอนุรักษ์ของสิ่งมีชีวิต ที่ทุกคนเลือกที่จะใส่หรือไม่ใส่ก็ได้ โดยกำหนดสถานะอนุรักษ์ลงในกล่องข้อมูลตารางจำแนกพันธุ์ ในรูปแบบดังต่อไปนี้

| status = code

หรือกำหนดสถานะอนุรักษ์ในกรณีที่สามารถระบุปีที่สูญพันธุ์ได้ เช่น

| status = EX
| extinct = 1992

กรณีเป็นสถานะปกติที่ไม่ใช่สูญพันธุ์ (EX) ไม่ต้องใส่ปีที่สูญพันธ์ (| extinct = 1992) เพราะจะไม่แสดงผลใด ๆ โดยรหัสสถานะอนุรักษ์และผลลัพทธ์ที่ปรากฏในกล่องข้อมูลตารางจำแนกพันธุ์ มีดังนี้

ภาพสถานะอนุรักษ์ รหัส ความหมาย
SE ปลอดภัยจากการคุกคาม
DOM เป็นสัตว์เลี้ยงหรือพืชสวน
LC ความเสี่ยงต่ำ
NT ความเสี่ยงต่ำแต่ควรรีบดำเนินการอนุรักษ์
VU มีความเสี่ยงต่อการสูญพันธุ์
EN มีความเสี่ยงสูงต่อการสูญพันธุ์
CR กำลังจะสูญพันธุ์
PEW อาจจะสูญพันธ์ไปจากธรรมชาติแล้ว
PE อาจจะสูญพันธุ์ไปแล้ว
EW สูญพันธุ์ไปจากธรรมชาติ แต่ยังมีในการเพาะเลี้ยงหรือสวนสัตว์
EX สูญพันธุ์ไปจากโลกนี้แล้ว

วิธีใช้งาน

วิธีใช้งานกล่องข้อมูลตารางจำแนกพันธุ์สำหรับบทความสิ่งมีชีวิตที่เรียกว่าสัตว์ ให้ทำการคัดลอกข้อมูลทางด้านล่างนี้ แล้วนำไปใส่ไว้ในส่วนบนสุดของบทความสัตว์ที่เริ่มดำเนินการเขียน

code ของกล่องข้อมูลตารางจำแนกพันธุ์ที่นำมาใส่ การจำแนกพันทางวิทยาศาสตร์ของสิ่งมีชีวิต
 
{{Taxobox
| name = 
| status = 
| trend = 
| status_ref = 
| image = 
| image_caption = 
| image_width = 
| regnum = 
| phylum = 
| classis = 
| ordo = 
| familia = 
| genus = 
| species = 
| binomial = 
| binomial_authority = 
| synonyms = 
| range_map = 
| range_map_caption = 
}}


-  เสือ
-  EN
-  down
-  {{ส่วนนี้เป็นการอ้างอิงของบทความ ถ้าไม่มีอ้างอิงก็เว้นว่างไว้}}
-  Tigerramki.jpg
-  [[Bengal Tiger]] (''P. tigris tigris'') 
-  250px 
-  [[สัตว์]] ([[Animalia]])
-  [[สัตว์มีแกนสันหลัง]] ([[Chordata]])
-  [[สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม]] ([[Mammal]]ia)
-  [[สัตว์กินเนื้อ]] ([[Carnivora]])
-  [[วงศ์เสือและแมว]] ([[Felidae]])
-  [[สกุลเสือ]] ([[Panthera]])
-  [[เสือโคร่ง]] (P. tigris)
-  Panthera tigris
-  ([[Carolus Linnaeus|Linnaeus]], [[1758]])
-  {{ส่วนนี้เป็นส่วนของชื่อพ้องของสิ่งมีชีวิต ถ้ามีก็ใส่ แต่ถ้าไม่มีก็เว้นว่างไว้}}
-  Tiger_map.jpg
-  Historical distribution of tigers (pale yellow) and 2006 (green) 

หลักวิธีการเขียนบทความสัตว์

หลักวิธีการเขียนบทความสัตว์ เป็นการกำหนดทิศทางของบทความเพื่อให้ทุก ๆ คนที่สนใจร่วมเขียนบทความสัตว์ สามารถเขียนบทความที่มีเนื้อหาและรายละเอียดครบถ้วนและสมบูรณ์ จนถึงได้รับคัดเลือกให้เป็นบทความคุณภาพและบทความคัดสรรของวิกิพีเดียไทย เช่นเสือ งูจงอางและสัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนม ต่างมีเนื้อหาและรายละเอียดครบถ้วนตามหลักวิธีการเขียนบทความ การเขียนบทความสัตว์ในวิกิพีเดีย ควรมีหลักการและเนื้อหาในการเขียนดังนี้

  1. บทนำ : เป็นส่วนแรกของเนื้อหา เพื่อเกริ่นให้รู้ถึงเนื้อหาและรายละเอียดคร่าว ๆ ของบทความสัตว์
  2. เนื้อหาของบทความ : เนื้อหาของบทความสัตว์ เป็นส่วนหลักสำคัญที่เก็บรายละเอียดต่าง ๆ ทั้งหมด เช่น เสือ จัดอยู่ในไฟลัมสัตว์มีแกนสันหลัง ชั้นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนม เป็นสัตว์กินเนื้อ เป็นต้น โดยมีองค์ประกอบสำคัญของบทความ ดังนี้
    • ลักษณะทั่วไป
    • วิวัฒนาการ (ถ้ามี)
    • กายวิภาคและสรีรวิทยา
    • การสืบพันธุ์
    • ถิ่นอาศัยและการล่าเหยื่อ (ในกรณีเป็นสัตว์กินเนื้อ) / ถิ่นอาศัยและการดำรงชีพ (ในกรณีเป็นสัตว์กินพืช)
  3. อ้างอิง : อ้างอิง เป็นส่วนสำคัญที่สุดของการเขียนบทความ เพื่อเป็นการยืนยันและเพิ่มความน่าเชื่อถือให้แก่บทความ การอ้างอิงในบทความสัตว์ สามารถใช้เอกสารอ้างอิงภาษาไทยหรือภาษาอังกฤษ
  4. ดูเพิ่ม : ใช้ในกรณีที่ในวิกิพีเดียมีบทความที่เกี่ยวข้องกับเนื้อหา เพื่อเป็นการแนะนำให้ผู้อ่านสามารถค้นคว้าอ่านเพิ่มเติม
  5. แหล่งข้อมูลอื่น : ใช้สำหรับแนะนำแหล่งข้อมูลอื่นที่เกี่ยวข้องกับเนื้อหาและบทความสัตว์
  6. แม่แบบเชื่อมโยงบทความ : แม่แบบเชื่อมโยงบทความ ใช้สำหรับเชื่อมโยงบทความที่ลักษณะใกล้เคียงกันผ่านทางแม่แบบ อาจอยู่ทางด้านขวามือหรือทางด้านล่างสุดของบทความเช่น แม่แบบ:สัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนม
  7. หมวดหมู่ : ใช้สำหรับจัดหมวดหมู่บทความสัตว์ เรียงลำดับตามความสำคัญเช่น หมวดหมู่:สัตว์ | หมวดหมู่:สัตว์มีแกนสันหลัง | หมวดหมู่:สัตว์กินเนื้อ | หมวดหมู่:สัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนม | หมวดหมู่:เสือ
  8. โครง : ใส่ {{โครงสัตว์}} ในส่วนล่างสุดของบทความสัตว์ สำหรับบทความสัตว์ที่ยังไม่สมบูรณ์
  9. ลิงก์ข้ามภาษา : ใช้สำหรับเชื่อมโยงบทความสัตว์ไปยังบทความสัตว์เรื่องเดียวกันในวิกิพีเดียภาษาอื่น เช่น en:tiger

การจัดระดับบทความสัตว์

ทุกคนสามารถช่วยจัดระดับบทความสัตววิทยาตามระดับการเขียนบทความ ในหน้าพูดคุยของบทความนั้น ๆ โดยติดป้ายดังนี้

การพิจารณาในการจัดระดับบทความสัตว์ในโครงการวิกิสัตววิทยา ใช้ระดับการพิจารณาดังต่อไปนี้

ระดับรายชื่อ

การจัดระดับบทความสัตววิทยาในระดับรายชื่อ ใช้จัดระดับสำหรับบทความสัตว์ที่เป็นดัชนีรายชื่อ มีเนื้อหาแสดงรายชื่อของสัตว์ประเภทต่าง ๆ เช่น รายชื่อปลา รายชื่องู รายชื่อนก ฯลฯ ทุกคนที่ทำการจัดระดับบทความสัตว์ในระดับรายชื่อ ให้ใส่ {{บทความสัตววิทยา|ระดับ=รายชื่อ}} ในหน้าพูดคุยของบทความนั้น ดังตัวอย่าง

การจัดระดับรายชื่อ แม่แบบสัตววิทยาที่ปรากฏ
{{บทความสัตววิทยา|ระดับ=รายชื่อ}}
โครงการวิกิสัตววิทยา เป็นส่วนหนึ่งของโครงการวิกิสัตววิทยาและสถานีย่อย โดยมีจุดมุ่งหมายเพื่อรวบรวมเรื่องราวทุกอย่างเกี่ยวกับสิ่งมีชีวิตที่เรียกว่า สัตว์ รวมถึงโครงสร้างทางกายวิภาคและสรีรวิทยาของระบบต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง เพื่อนำไปใช้ในการศึกษา ค้นคว้า และดูแลสิ่งมีชีวิต ทุกคนสามารถมีส่วนร่วมในโครงการนี้ได้ด้วยการช่วยกันพัฒนาบทความ โครงการวิกิสัตววิทยา หรือแวะไปที่หน้าโครงการหรือหน้าสถานีย่อยเพื่อดูข้อมูลเพิ่มเติม
รายชื่อ บทความนี้อยู่ที่ระดับรายชื่อ ตามการจัดระดับการเขียนบทความ

ระดับโครง

การจัดระดับบทความสัตววิทยาในระดับโครง ใช้จัดระดับสำหรับบทความสัตว์ที่มีเพียงกล่องข้อมูล {{ตารางจำแนกพันธุ์}} และมีเนื้อหาแสดงเพียงแค่ชื่อของบทความสัตว์ ขาดเนื้อหาในส่วนสำคัญ ๆ ตามหลักการเขียนบทความสัตว์ สามารถเขียนรายละเอียดเพิ่มเติมได้ตลอดเวลา หรือถ้าในกรณีที่ทุกคนที่เริ่มเขียนบทความสัตว์ มีข้อมูลและรายละเอียดครบถ้วน สามารถนำมาเขียนใหม่ได้ทั้งหมด โดยแก้ไขปรับเปลี่ยนเนื้อหาและรายละเอียดบางส่วน เช่นสัตว์ ผีเสื้อ พยาธิ ฯลฯ ทุกคนที่ทำการจัดระดับบทความสัตว์ในระดับรายชื่อ ให้ใส่ {{บทความสัตววิทยา|ระดับ=โครง}} ในหน้าพูดคุยของบทความนั้น ดังตัวอย่าง

การจัดระดับโครง แม่แบบสัตววิทยาที่ปรากฏ
{{บทความสัตววิทยา|ระดับ=โครง}}
โครงการวิกิสัตววิทยา เป็นส่วนหนึ่งของโครงการวิกิสัตววิทยาและสถานีย่อย โดยมีจุดมุ่งหมายเพื่อรวบรวมเรื่องราวทุกอย่างเกี่ยวกับสิ่งมีชีวิตที่เรียกว่า สัตว์ รวมถึงโครงสร้างทางกายวิภาคและสรีรวิทยาของระบบต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง เพื่อนำไปใช้ในการศึกษา ค้นคว้า และดูแลสิ่งมีชีวิต ทุกคนสามารถมีส่วนร่วมในโครงการนี้ได้ด้วยการช่วยกันพัฒนาบทความ โครงการวิกิสัตววิทยา หรือแวะไปที่หน้าโครงการหรือหน้าสถานีย่อยเพื่อดูข้อมูลเพิ่มเติม
 โครง  บทความนี้อยู่ที่ระดับโครง ตามการจัดระดับการเขียนบทความ

ระดับพอใช้

การจัดระดับบทความสัตววิทยาในระดับพอใช้ ใช้จัดระดับสำหรับบทความสัตว์ที่มีกล่องข้อมูลตารางจำแนกพันธุ์ มีเนื้อหาในส่วนบทนำ เนื้อหาส่วนสำคัญมีค่อนข้างละเอียดแต่อาจจะไม่ครบถ้วนเท่าที่ควร ขาดรายละเอียดของบทความในบางส่วน สามารถแก้ไขเพิ่มเติมเนื้อหาในบางส่วนให้สมบูรณ์ แต่สรุปโดยรวมคือเมื่อผู้อ่านได้อ่านบทความสัตว์แล้ว เห็นว่าพอที่จะให้ประโยชน์แก่ผู้อ่านพอสมควร เช่น งูเห่า เต่า แพนด้า ฯลฯ ทุกคนที่ทำการจัดระดับบทความสัตว์ในระดับรายชื่อ ให้ใส่ {{บทความสัตววิทยา|ระดับ=พอใช้}} ในหน้าพูดคุยของบทความนั้น ดังตัวอย่าง

การจัดระดับพอใช้ แม่แบบสัตววิทยาที่ปรากฏ
{{บทความสัตววิทยา|ระดับ=พอใช้}}
โครงการวิกิสัตววิทยา เป็นส่วนหนึ่งของโครงการวิกิสัตววิทยาและสถานีย่อย โดยมีจุดมุ่งหมายเพื่อรวบรวมเรื่องราวทุกอย่างเกี่ยวกับสิ่งมีชีวิตที่เรียกว่า สัตว์ รวมถึงโครงสร้างทางกายวิภาคและสรีรวิทยาของระบบต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง เพื่อนำไปใช้ในการศึกษา ค้นคว้า และดูแลสิ่งมีชีวิต ทุกคนสามารถมีส่วนร่วมในโครงการนี้ได้ด้วยการช่วยกันพัฒนาบทความ โครงการวิกิสัตววิทยา หรือแวะไปที่หน้าโครงการหรือหน้าสถานีย่อยเพื่อดูข้อมูลเพิ่มเติม
 พอใช้  บทความนี้อยู่ที่ระดับพอใช้ ตามการจัดระดับการเขียนบทความ

ระดับดี

การจัดระดับบทความสัตววิทยาในระดับดี ใช้จัดระดับสำหรับบทความสัตว์ที่มีกล่องข้อมูลตารางจำแนกพันธุ์ มีเนื้อหาในส่วนบทนำ เนื้อหาส่วนสำคัญครบถ้วนตามหลักวิธีการเขียนบทความ ข้อมูลอ้างอิงและแหล่งข้อมูลอื่นสำหรับผู้อ่านที่สนใจติดตามอ่านในส่วนรายละเอียดอื่น ๆ ของบทความ เนื้อหาสำคัญของบทความสามารถแก้ไขเพิ่มเติมและปรุบปรุงนิดหน่อย เพื่อเป็นการให้ประโยชน์แก่ผู้อ่านได้อย่างครบถ้วน เช่น ช้าง นกเจ้าฟ้าหญิงสิรินธร บีเวอร์ ฯลฯ ทุกคนที่ทำการจัดระดับบทความสัตว์ในระดับรายชื่อ ให้ใส่ {{บทความสัตววิทยา|ระดับ=ดี}} ในหน้าพูดคุยของบทความนั้น ดังตัวอย่าง

การจัดระดับดี แม่แบบสัตววิทยาที่ปรากฏ
{{บทความสัตววิทยา|ระดับ=ดี}}
โครงการวิกิสัตววิทยา เป็นส่วนหนึ่งของโครงการวิกิสัตววิทยาและสถานีย่อย โดยมีจุดมุ่งหมายเพื่อรวบรวมเรื่องราวทุกอย่างเกี่ยวกับสิ่งมีชีวิตที่เรียกว่า สัตว์ รวมถึงโครงสร้างทางกายวิภาคและสรีรวิทยาของระบบต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง เพื่อนำไปใช้ในการศึกษา ค้นคว้า และดูแลสิ่งมีชีวิต ทุกคนสามารถมีส่วนร่วมในโครงการนี้ได้ด้วยการช่วยกันพัฒนาบทความ โครงการวิกิสัตววิทยา หรือแวะไปที่หน้าโครงการหรือหน้าสถานีย่อยเพื่อดูข้อมูลเพิ่มเติม
 ดี  บทความนี้อยู่ที่ระดับดี ตามการจัดระดับการเขียนบทความ

ระดับคุณภาพ

การจัดระดับบทความสัตววิทยาในระดับคุณภาพ ใช้จัดระดับสำหรับบทความสัตว์ที่มีการส่งบทความเข้าคัดเลือกเพื่อให้เป็นบทความคุณภาพของวิกิพีเดีย โดยมีเนื้อหาและรายละเอียดครบถ้วน ให้ประโยชน์แก่ผู้อ่านได้อย่างมีประสิทธิภาพ ตัวอย่างบทความสัตววิทยาในระดับคุณภาพได้แก่บทความงูจงอาง และต่อมาได้รับการคัดเลือกให้เป็นบทความคัดสรร โดยถือว่าบทความงูจงอาง เป็นตัวอย่างของการเขียนบทความที่ได้รับคัดเลือกเป็นบทความสัตววิทยาระดับคุณภาพและบทความสัตววิทยาระดับคัดสรร ทุกคนที่ทำการจัดระดับบทความสัตว์ในระดับรายชื่อ ให้ใส่ {{บทความสัตววิทยา|ระดับ=คุณภาพ}} ในหน้าพูดคุยของบทความนั้น ดังตัวอย่าง

การจัดระดับคุณภาพ แม่แบบสัตววิทยาที่ปรากฏ
{{บทความสัตววิทยา|ระดับ=คุณภาพ}}
โครงการวิกิสัตววิทยา เป็นส่วนหนึ่งของโครงการวิกิสัตววิทยาและสถานีย่อย โดยมีจุดมุ่งหมายเพื่อรวบรวมเรื่องราวทุกอย่างเกี่ยวกับสิ่งมีชีวิตที่เรียกว่า สัตว์ รวมถึงโครงสร้างทางกายวิภาคและสรีรวิทยาของระบบต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง เพื่อนำไปใช้ในการศึกษา ค้นคว้า และดูแลสิ่งมีชีวิต ทุกคนสามารถมีส่วนร่วมในโครงการนี้ได้ด้วยการช่วยกันพัฒนาบทความ โครงการวิกิสัตววิทยา หรือแวะไปที่หน้าโครงการหรือหน้าสถานีย่อยเพื่อดูข้อมูลเพิ่มเติม
 บทความคุณภาพ คุณภาพ  บทความนี้อยู่ที่ระดับคุณภาพ ตามการจัดระดับการเขียนบทความ

ระดับคัดสรร

การจัดระดับบทความสัตววิทยาในระดับคัดสรร ใช้จัดระดับสำหรับบทความสัตว์ที่มีการส่งบทความเข้าคัดเลือกเพื่อให้เป็นบทความคัดสรร ซึ่งถือว่าเป็นบทความที่ดีที่สุดของวิกิพีเดีย โดยมีเนื้อหาและรายละเอียดครบถ้วน ให้ประโยชน์แก่ผู้อ่านได้อย่างมีประสิทธิภาพ ตัวอย่างบทความสัตววิทยาในระดับคัดสรรเป็นบทความแรกได้แก่บทความเสือ และบทความงูจงอาง ได้รับการคัดเลือกให้เป็นบทความคัดสรร ภายหลังจากได้รับคัดเลือกให้เป็นบทความคุณภาพ และบทความสัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนม ได้คับคัดเลือกให้เป็นบทความคัดสรรบทความที่ 3 ของบทความสัตววิทยาในระดับคัดสรร ทุกคนที่ทำการจัดระดับบทความสัตว์ในระดับรายชื่อ ให้ใส่ {{บทความสัตววิทยา|ระดับ=คัดสรร}} ในหน้าพูดคุยของบทความนั้น ดังตัวอย่าง

การจัดระดับคัดสรร แม่แบบสัตววิทยาที่ปรากฏ
{{บทความสัตววิทยา|ระดับ=คัดสรร}}
โครงการวิกิสัตววิทยา เป็นส่วนหนึ่งของโครงการวิกิสัตววิทยาและสถานีย่อย โดยมีจุดมุ่งหมายเพื่อรวบรวมเรื่องราวทุกอย่างเกี่ยวกับสิ่งมีชีวิตที่เรียกว่า สัตว์ รวมถึงโครงสร้างทางกายวิภาคและสรีรวิทยาของระบบต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง เพื่อนำไปใช้ในการศึกษา ค้นคว้า และดูแลสิ่งมีชีวิต ทุกคนสามารถมีส่วนร่วมในโครงการนี้ได้ด้วยการช่วยกันพัฒนาบทความ โครงการวิกิสัตววิทยา หรือแวะไปที่หน้าโครงการหรือหน้าสถานีย่อยเพื่อดูข้อมูลเพิ่มเติม
 บทความคัดสรร คัดสรร  บทความนี้อยู่ที่ระดับคัดสรร ตามการจัดระดับการเขียนบทความ
ร่วมด้วยช่วยกัน
ส่วนหนึ่งที่คุณสามารถช่วยสร้างโลกของสัตว์ได้

แตนทะเลพยาธิตัวจี๊ดพยาธิไส้เดือนหนอนทะเลแมลงหางหนีบดาวหมอนหอยเจดีย์หอยหวีแมงมุมปูหอยโข่งไรฝุ่นตัวสามง่ามมวนจิงโจ้น้ำต่อแมงมุมต่อหลุมต่อหัวเสือมอดเห็บริ้นไรตั๊กแตนทะเลทรายตัวกะปิผีเสื้อกระดองเต่าเล็กผีเสื้อนกยูงผีเสื้อปีกขาวเล็กผีเสื้อกะลาสีผีเสื้อหางแฉกผีเสื้ออพอลโลด้วงงวงขนด้วงดินต่อฟันเลื่อยต่อทาแทนทูลาฮอวก์ตั๊กแตนกิ่งไม้เพลี้ยกระโดดมดกัดใบมดเก็บเกี่ยวมดบลูด็อกมดป่าแมงป่องน้ำแมงมุมกับดักแมลงช้างแมลงปอเข็มแมลงปอจักรพรรดิแมลงสาบยักษ์มาดากัสการ์กิ้งกือยักษ์กิ้งกือหลังแบนด้วงกินซากด้วงน้ำมันด้วงมูลสัตว์ด้วงแรดด้วงสี่ตาด้วงดิ่งต่อรังตั๊กแตนกิ่งไม้น้ำตั๊กแตนสีหอยทากต้นไม้หอยทากแอฟริกาหอยโข่งตั๊กแตนกล้วยไม้ผีเสื้อกลางคืนซินนาบาร์ผีเสื้อกัมจักรพรรดิผีเสื้อเหยี่ยวผีเสื้อเดินขบวนผีเสื้อฮามาไดรแอสผีเสื้ออุปราชผีเสื้อม้าลายผีเสื้อมอร์ไฟผีเสื้อฟ้าธรรมดาผีเสื้อกลางคืนไอโอผีเสื้อกลางคืนแอตลาสผีเสื้อกลางคืนโลปา

ไก่มัลลีตัวดีดทรายตะกวดออสเตรเลียกบซับน้ำปลาพยาบาลตะพาบน้ำม่านลายนกปากไขว้นกกาน้ำตาสีน้ำเงินนกทูแคนนกสาลิกาดำนกตบยุงกระต่ายทะเลทรายโพลาร์ค้างคาวแม่ไก่เม่นกินมดนกอินทรีหางพลั่วปลาไหลทรายงูเหลือมต้นไม้สีมรกตนกโรดรันเนอร์บาราลนกอีมูงูทะเลสีมะกอกงูทะเลลายดำเหลืองงูทะเลหัวสุนัขนกทูแคนนกไต่กำแพงนกปากไขว้นกจับหอยนกช้อนหอยเหลือบนกนางนวลแกลบอาร์กติกนกนางนวลหางแฉกปลากระจกปลากระต่ายโลมาลายจุดโลมาสปินเนอร์วาฬนำร่องวาฬสีเทาสิงโตทะเลแคลิฟอร์เนียกระรอกแดงแมวเบงกอลแมวป่ายุโรปเสือโคร่งสีทองแมวลายเสือ

บทความที่ต้องขยายความ

ทุกคนสามารถเป็นส่วนหนึ่งของโครงการวิกิสัตววิทยาได้ ด้วยการช่วยปรับปรุงแก้ไขบทความสัตว์ที่มีผู้เริ่มต้นเขียนไว้แล้ว โดยดูบทความสัตว์ที่มีป้าย {{ขยายความ}} ในบทความที่มีเพียง{{ตารางจำแนกพันธุ์}} ซึ่งมีการขยายรายละเอียดของบทความไว้เพียงเล็กน้อย เช่น

เสือดาวหิมะ (Snow Leopard) จัดอยู่ในไฟลัมสัตว์มีแกนสันหลัง ไฟลัมย่อยสัตว์มีกระดูกสันหลัง ชั้นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนม อันดับสัตว์กินเนื้อ วงศ์เสือและแมว สกุลเสือ

ซึ่งจะเห็นว่า มีการขยายความให้รู้ว่า เสือดาวหิมะนั้น อยู่ในไฟลัมใด ชั้นใด อันดับใด วงศ์และสกุลใดเท่านั้นเอง ยังขาดเนื้อหาและรายละเอียดส่วนสำคัญอีกมาก ในกรณีนี้ถ้าทุก ๆ คนที่มีความรู้หรือมีข้อมูลของสัตว์ชนิดใดอยู่ในมือ ไม่ว่าจะเป็นหนังสือหรือพบเห็นตามเว็บไซต์ สามารถนำมาช่วยกันเขียนและพัฒนาบทความให้สมบูรณ์ได้ แต่ต้องคอยระวังเรื่องการเขียนบทความโดยไม่ละเมิดลิขสิทธิ์ ซึ่งจะถูกแจ้งละเมิดบทความและโดนลบเนื้อหาส่วนละเมิดทิ้ง

บทความสั้นมาก

นอกจากทุก ๆ คนจะช่วยกันเพิ่มเติมเนื้อหาในส่วนของบทความที่ต้องการขยายความแล้ว ยังสามารถช่วยเหลือโครงการวิกิสัตววิทยาด้วยการช่วยเก็บกวาดป้าย {{สั้นมาก}} ที่แปะอยู่ในส่วนบนสุดของบทความ โดยนำป้ายออกเมื่อมีการเพิ่มเติมเนื้อหาของบทความแล้ว เพื่อให้บทความได้รับการพัฒนาจากระดับโครงเป็นระดับพอใช้

การพิจารณาว่าบทความสัตว์บทความใดเข้าข่ายบทความสั้นมาก โครงการวิกิสัตววิทยาใช้หลักเกณฑ์ในการพิจารณาบทความสัตว์ให้เป็นบทความสั้นมาก ด้วยการดูเนื้อหาของบทความ ถ้ามีการกล่าวถึงเพียงแค่ขยายความให้รู้ว่าบทความนี้คืออะไร? ลักษณะเป็นเช่นใด? และมีเนื้อหาของบทความน้อยกว่า 3 บรรทัด บทความนั้นเข้าข่ายบทความสัตว์ที่สั้นมาก ถ้าทุก ๆ คนที่พบเห็นบทความสัตว์ที่มีลักษณะตรงกับหลักในการพิจารณาบทความ สามารถช่วยเหลือได้ด้วยการแปะป้าย {{สั้นมาก}} ในส่วนบนสุดของบทความ และอย่างลึมนำป้ายออกเมื่อบทความนั้นมีการขยายเนื้อหาพอสมควร

บทความสัตว์ที่ยังไม่สมบูรณ์

ทุกคนสามารถร่วมกับพัฒนาบทความสัตว์ที่ยังไม่สมบูรณ์ได้ตลอดเวลา โดยดูเพิ่มเติมได้ที่ บทความเกี่ยวกับสัตว์ที่ยังไม่สมบูรณ์ หรือแปะป้าย {{โครงสัตว์}} ในส่วนล่างสุดของบทความ

บทความสัตว์ขาดแหล่งอ้างอิง

ทุกคนสามารถช่วยกันพัฒนาและปรับปรุงบทความสัตว์ให้สมบูรณ์ครบถ้วน ด้วยการเพิ่มแหล่งข้อมูลอ้างอิงให้แก่บทความ เพื่อเป็นการเน้นย้ำให้เนื้อหาส่วนสำคัญของบทความสัตว์ มีความสมบูรณ์ในตัวเองและน่าเชื่อถือ สามารถนำไปใช้เป็นแหล่งอ้างอิงภายนอกได้ เช่น

เสือ (Tiger) เป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม ในวงศ์ฟิลิดี (Felidae) ซึ่งเป็นวงศ์เดียวกับแมวโดยชนิดที่เรียกว่าเสือมักมีขนาดลำตัวค่อนข้างใหญ่กว่าและอาศัยอยู่ภายในป่า ขนาดของลำตัวประมาณ 168 - 227 เซนติเมตร และหนักประมาณ 180 - 245 กิโลกรัม[1] รูม่านตากลม เป็นสัตว์กินเนื้อกลุ่มหนึ่ง มีลักษณะและรูปร่างรวมทั้งพฤติกรรมที่เป็นเอกลักษณ์แตกต่างจากสัตว์ในกลุ่มอื่น หากินเวลากลางคืน มีถิ่นกำเนิดในป่า เสือส่วนใหญ่ยังคงมีความสามารถในการปีนป่ายต้นไม้ (ยกเว้นเสือชีต้า Cheetah) เสือทุกชนิดมีกรามที่สั้นและแข็งแรง มีเขี้ยว 2 คู่สำหรับกัดเหยื่อ ทั่วทั้งโลกมีเสืออยู่ประมาณ 37 ชนิด ซึ่งรวมทั้งแมวบ้านด้วย

จะเห็นว่าส่วนสำคัญที่สุดของบทความ ที่คนเขียนบทความทำการอ้างอิงแหล่งที่มาคือ ขนาดของลำตัวและน้ำหนักของเสือที่หนักประมาณ 180-245 กิโลกรัม และมีขนาดของลำตัวยาวประมาณ 168-227 เซนติเมตร โดยเป็นการยืนยันถึงจำนวนตัวเลขที่ทำการอ้างอิง โดยใส่ <ref>[http://www.ubonzoo.com/wild_animals/tigris_left.html เสือ]></ref> ท้ายประโยคที่ต้องการอ้างอิง หรือเมื่อนำแหล่งอ้างอิงมาจากเว็บไซต์ หรือใส่ <ref name="เสือ จ้าวแห่งนักล่า">ศลิษา สถาปนวัฒน์,ดร.อลัน ราบิโนวิทซ์, เสือ จ้าวแห่งนักล่า, สำนักพิมพ์สารคดี, 1995, หน้า 22</ref> เมื่อนำแหล่งอ้างอิงมาจากหนังสือ ดูรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่การอ้างอิงแหล่งที่มา ถ้าทุกคนพบเห็นบทความสัตว์บทความใดในวิกิพีเดียขาดแหล่งข้อมูลในการอ้างอิงเนื้อหาของบทความ สามารถช่วยกันแจ้งให้ทุก ๆ คนทราบและช่วยกันค้นคว้าหาแหล่งอ้างอิงให้แก่บทความได้ ด้วยการแปะป้าย {{ต้องการอ้างอิง}} ในส่วนบนสุดของบทความ เพื่อให้บทความสัตว์ได้รับการพัฒนาจนสมบูรณ์

การจัดลำดับหมวดหมู่บทความสัตว์

การจัดลำดับหมวดหมู่บทความสัตว์ในโครงการวิกิสัตววิทยา เป็นการจัดหมวดหมู่ตามหลักของการจัดหมวดหมู่สัตว์เรียงตามลำดับความสำคัญ เช่น บทความเสือ จะใช้หลักในการจัดหมวดหมู่คือ

หมวดหมู่:สัตว์หมวดหมู่:สัตว์มีแกนสันหลังหมวดหมู่:สัตว์กินเนื้อหมวดหมู่:สัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนมหมวดหมู่:เสือ

การจัดลำดับหมวดหมู่บทความเสือตามตัวอย่าง เป็นการจัดลำดับหมวดหมู่ของเสือ เรียงลำดับจากหมวดหมู่หลักไปหาหมวดหมู่ย่อย เช่น เสือจัดเป็นสิ่งมีชีวิตที่เรียกว่าสัตว์ เป็นสัตว์มีแกนสันหลัง เลี้ยงลูกด้วยน้ำนม และสามารถแยกรายชื่อเสือออกไปได้อีกเป็นจำนวนมาก

Kembali kehalaman sebelumnya