Share to:

 

วิกิพีเดีย:โครงการวิกิภูมิศาสตร์


ภูมิศาสตร์
ภูมิศาสตร์
Geography
โครงการสถานีย่อยบทความที่ต้องการการเข้าชมหน้า
ภูมิศาสตร์กายภาพภูมิศาสตร์มนุษย์สารสนเทศภูมิศาสตร์เทคโนโลยีภูมิศาสตร์‎ภูมิศาสตร์แบ่งตามทวีปภูมิศาสตร์แบ่งตามประเทศ

สมาชิก
  1. EZBELLA (พูดคุย · เรื่องที่เขียน)
  2. Tvcccp (พูดคุย · เรื่องที่เขียน)
  3. B20180 (พูดคุย · เรื่องที่เขียน)
  4. Geonuch (พูดคุย · เรื่องที่เขียน)
  5. Ponpan (พูดคุย · เรื่องที่เขียน)
  6. Azoma (พูดคุย · เรื่องที่เขียน)
  7. Thai.60 (พูดคุย · เรื่องที่เขียน)
  8. Sry85 (พูดคุย · เรื่องที่เขียน)
  9. Thainexon (พูดคุย · เรื่องที่เขียน)
  10. ZeroSixTwo (พูดคุย · เรื่องที่เขียน)
  11. Timekeepertmk (พูดคุย · เรื่องที่เขียน)
  12. kaoavi (พูดคุย · เรื่องที่เขียน)
  13. Mr.BuriramCN (พูดคุย · เรื่องที่เขียน)
  14. BeckNoDa (พูดคุย · เรื่องที่เขียน)
  15. Kattie Katey (พูดคุย · เรื่องที่เขียน)
  16. NovaDevv (พูดคุย · เรื่องที่เขียน)
  17. RedWoolTH (พูดคุย · เรื่องที่เขียน)
  18. Supakit prem (พูดคุย · เรื่องที่เขียน)
สารบัญ
สถิติบทความ
บทความภูมิศาสตร์ ความสำคัญ
ไม่มี ทั้งหมด
คุณภาพ
 บทความคัดสรร คัดสรร  3 3
 บทความคุณภาพ คุณภาพ  2 2
ดี 23 23
พอใช้ 210 210
โครง 1494 1494
รายชื่อ 96 96
จัดระดับแล้ว 1828 1828
ยังไม่ได้จัดระดับ 114 114
ทั้งหมด 1942 1942


สวัสดีผู้ใช้วิกิพีเดียไทยทุกท่านขอต้อนรับสู่โครงการวิกิภูมิศาสตร์ นี้เป็นโครงการเพื่อที่จะทำให้บทความเกี่ยวกับภูมิศาสตร์ได้รับการจัดระเบียบพัฒนาและแนะนำผู้ที่สนใจเกี่ยวกับบทความทางภูมิศาสตร์ได้ง่ายขึ้น

ขอบเขต

บทความที่เกี่ยวข้องกับภูมิศาสตร์ ทั้งภูมิศาสตร์กายภาพ ภูมิศาสตร์มนุษย์ ภูมิศาสตร์สิ่งแวดล้อม รวมถึงเทคนิคที่เกี่ยวข้องกับภูมิศาสตร์ เช่น แผนที่หรือระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ เป็นต้น

จุดมุ่งหมาย

เขียนบทความ

  1. สร้างบทเกี่ยวกับเครืองมือภูมิศาสตร์
  2. สร้างบทเกี่ยวกับสภาพภูมิประเทศ
  3. สร้างบทเกี่ยวกับปรากฎการณ์ทางธรรมชาติที่เกี่ยวข้องกับภูมิศาสตร์
  4. สร้างบทความทางภูมิศาสตร์ในทวีปเอเชีย
  5. สร้างบทความทางภูมิศาสตร์ในทวีปแอฟริกา
  6. สร้างบทความทางภูมิศาสตร์ในทวีปยุโรป
  7. สร้างบทความทางภูมิศาสตร์ในทวีปอเมริกาเหนือ
  8. สร้างบทความทางภูมิศาสตร์ในทวีปอเมริกาใต้
  9. สร้างบทความทางภูมิศาสตร์ในทวีปออกเตรเลียและโอเชียเนีย
  10. สร้างบทความทางภูมิศาสตร์ในทวีปแอนตาร์กติกา

การพัฒนาบทความ

  1. เพื่อให้พวกเราทำตามมาตรฐานที่ถูกกำหนดขึ้นร่วมกัน
  2. จัดหมวดหมู่บทความ
  3. เพิ่มรายละเอียดทางวิทยาศาสตร์มากขึ้น (และแหล่งที่มา) ในบทความให้เหมาะสม
  4. พัฒนาส่วนที่ถูกละเลยในบางหัวข้อของบทความ
  5. รับประกันว่าบทความมีมุมมองที่เป็นกลาง
  6. พัฒนาบทความภูมิศาสตร์ทั้งหมดให้อยู่ในระดับดีและพัฒนาสู่บทความคุณภาพและบทความคัดสรรในอนาคต

เริ่มต้น

พื้นฐานการแก้ไขที่ควรทราบก่อน ดังนี้

สิ่งที่คุณสามารถช่วยวิกิภูมิศาสตร์

ลงชื่อสมาชิก

การลงชื่อสมาชิก หมายความว่า คุณยินดีที่จะให้ความร่วมมือกับโครงการวิกิภูมิศาสตร์ ในการรับเอานโยบายของโครงการไปใช้

  1. พัฒนาบทความทางภูมิศาสตร์ให้เป็นไปตามนโยบาย
  2. คุณสามารถลงชื่อสมาชิกของโครงการได้ ที่นี้

แม่แบบ

บทความที่ไม่สมบูรณ์

ใส่แม่แบบ {{โครงภูมิศาสตร์}} ถ้าบทความทางภูมิศาสตร์นั้นยังไม่สมบูรณ์

โดยจะแสดงผล:

หน้าพูดคุย

ช่วยทำการจัดอันดับบทความด้วยการใส่ {{บทความภูมิศาสตร์}} ในหน้าอภิปรายของบทความที่มีความเกี่ยวข้องกับภูมิศาสตร์

โดยจะแสดงผล:

โครงการวิกิภูมิศาสตร์ เป็นส่วนหนึ่งของโครงการวิกิภูมิศาสตร์และสถานีย่อย โดยมีจุดมุ่งหมายเพื่อรวบรวมเรื่องราวทุกอย่างเกี่ยวกับภูมิศาสตร์ ทุกคนสามารถมีส่วนร่วมในโครงการนี้ได้ด้วยการช่วยกันพัฒนาบทความ โครงการวิกิภูมิศาสตร์ หรือแวะไปที่หน้าโครงการหรือหน้าสถานีย่อยเพื่อดูข้อมูลเพิ่มเติม
??? บทความนี้ยังไม่ได้รับการพิจารณาตามการจัดระดับการเขียนบทความ

ติดกล่องผู้ใช้

ช่วยสนับสนุนโครงการของเราด้วยการติดกล่องผู้ใช้ {{User WikiProjectGeography}} ในหน้าผู้ใช้ที่เป็นสมาชิก

โดยจะแสดงผล:

ผู้ใช้คนนี้เป็นสมาชิกของ
โครงการวิกิภูมิศาสตร์

บอกทิศทาง

ติด {{Geographic location}} เพื่อบอกว่าทิศทางไหนมีอะไรหรือติดอะไร

  1. โดยใสบอกทิศทางดังนี้
  1. |Centre = ตรงกลาง
  2. |North = ทางเหนือ
  3. |Northeast = ทางตะวันออกเฉียงเหนือ
  4. |East = ทางตะวันออก
  5. |Southeast = ทางตะวันออกเฉียงใต้
  6. |South = ทางใต้
  7. |Southwest =ทางตะวันตกเฉียงใต้
  8. |West = ทางตะวันตก
  9. |Northwest = ทางตะวันตกเฉียงเหนือ

มอบดาวเกียรติยศ

ดาวภูมิศาสตร์มอบให้สำหรับผู้มีส่วนร่วมในการเขียนบทความที่เกี่ยวข้องกับภูมิศาสตร์อย่างมีนัยยะสำคัญ โดยติดแม่แบบ {{ดาวภูมิศาสตร์|เหตุผล}} พร้อมลงชื่อผู้ใช้ที่หน้าพูดคุยของผู้ใช้ที่ได้รับดาว หลังจากติดป้ายจะแสดงผลดังนี้:

ดาวภูมิศาสตร์
เหตุผล --~~~~

รายชื่อบทความดีเด่น

บทความระดับคัดสรร

บทความระดับคุณภาพ

หมวดหมู่

  1. หมวดหมู่:ภูมิศาสตร์
  2. หมวดหมู่:บทความเกี่ยวกับ ภูมิศาสตร์ ที่ยังไม่สมบูรณ์
    1. หมวดหมู่:การกำหนดทิศทาง
    2. หมวดหมู่:การกำหนดทิศทาง
    3. หมวดหมู่:การเดินเรือ‎
    4. หมวดหมู่:การสำรวจ
    5. หมวดหมู่:เขตเวลา
    6. หมวดหมู่:เขตทางภูมิศาสตร์
    7. หมวดหมู่:ชีวภูมิศาสตร์
    8. หมวดหมู่:ดินแดน
    9. หมวดหมู่:เทคโนโลยีภูมิศาสตร์
    10. หมวดหมู่:แผนที่
    11. หมวดหมู่:พิพิธภัณฑ์ทางภูมิศาสตร์
    12. หมวดหมู่:พื้นที่ทางวัฒนธรรมก่อนสมัยโคลัมเบียน
    13. หมวดหมู่:ภูมิมาตรศาสตร์
    14. หมวดหมู่:ภูมิทัศน์
    15. หมวดหมู่:ภูมิภาค‎
    16. หมวดหมู่:ภูมิศาสตร์แบ่งตามทวีป‎
    17. หมวดหมู่:ภูมิศาสตร์แบ่งตามประเทศ
    18. หมวดหมู่:ภูมิศาสตร์แบ่งตามสถานที่
    19. หมวดหมู่:ภูมิศาสตร์มนุษย์
    20. หมวดหมู่:ภูมิศาสตร์บรรพกาล‎
    21. หมวดหมู่:ภูมิอุทยาน‎
    22. หมวดหมู่:รหัสภูมิศาสตร์‎
    23. หมวดหมู่:สถานที่
    24. หมวดหมู่:สาขาภูมิศาสตร์
    25. หมวดหมู่:สิ่งก่อสร้าง
    26. หมวดหมู่:หมวดหมู่แบ่งตามที่ตั้งทางภูมิศาสตร์
    27. หมวดหมู่:หลุมอุกกาบาต
    28. หมวดหมู่:อุทยานแห่งชาติ‎

การจัดระดับบทความ

ทุกคนสามารถจัดระดับบทความภูมิศาสตร์ได้ในหน้าอภิปราย (ยกเว้นบทความระดับคัดสรร และบทความระดับคุณภาพ ซึ่งจะต้องผ่านการเสนอชื่อกับทางวิกิพีเดียก่อน) โดยจะแบ่งระดับของบทความดังนี้

รายชื่อบทความ:
ยังไม่ได้จัดระดับ รายชื่อ โครง พอใช้ ดี บทความคุณภาพ คุณภาพ บทความคัดสรร คัดสรร

โดยจะแสดงผลดังนี้

บทความระดับคัดสรร

เป็นบทความภูมิศาสตร์ที่มีประสิทธิภาพต่อผู้อ่านสูงสุด ทั้งนี้จะต้องประกอบไปด้วย เนื้อหาที่เป็นสารานุกรม ไม่เอนเอียงไปทางใดทางหนึ่ง ไม่ละเมิดลิขสิทธิ์ พร้อมอ้างอิงแหล่งที่มาที่สามารถยืนยันได้ พร้อมเนื้อหาที่มีความสมบูรณ์ในตัวมันเอง มีการจัดรูปแบบที่ดีพร้อมภาพประกอบที่มีลิขสิทธิ์ยืนยันได้ มีการใช้สำนวนที่อ่านเข้าใจ และโครงสร้างบทความต่อเนื่องกัน ซึ่งต้องผ่านการเสนอชื่อเป็นบทความคัดสรรเสียก่อน จึงจะสามารถใส่ แม่แบบ {{บทความภูมิศาสตร์|ระดับ=คัดสรร}} ไว้ที่หน้าอภิปรายของบทความนั้นๆ ได้


การจัดระดับคัดสรร แม่แบบภูมิศาสตร์ที่ปรากฏ
{{บทความภูมิศาสตร์|ระดับ=คัดสรร}}


บทความระดับคุณภาพ

เป็นบทความภูมิศาสตร์ที่มีประโยชน์ต่อผู้อ่าน เนื้อหาครบถ้วนสมบูรณ์ คล้ายบทความระดับคัดสรร แต่ยังมีข้อผิดพลาดอยู่บางส่วน แต่ยังเห็นได้ไม่ชัดเจน ซึ่งสิ่งที่ทุกคนทำได้ในบทความระดับนี้คือการแก้ไขเนื้อหาหรือข้อความให้อ่านง่าย ซึ่งต้องผ่านการเสนอชื่อเป็นบทความคุณภาพเสียก่อน จึงจะสามารถใส่ แม่แบบ {{บทความภูมิศาสตร์|ระดับ=คุณภาพ}} ไว้ที่หน้าอภิปรายของบทความนั้นๆ ได้

การจัดระดับคัดสรร แม่แบบภูมิศาสตร์ที่ปรากฏ
{{บทความภูมิศาสตร์|ระดับ=คุณภาพ}}

บทความระดับดี

เป็นบทความภูมิศาสตร์ที่มีเนื้อหาครอบคลุมส่วนสำคัญครบถ้วนในทุกด้าน มีรูปแบบที่ดูเหมาะสม ซึ่งรูปแบบและการใช้ภาษา อาจยังต้องการปรับปรุง ยังพอมีประโยชน์ต่อผู้อ่านส่วนใหญ่แต่ไม่ทุกคน ผู้อ่านทั่วไปอ่านและเข้าใจในภาพรวมและเนื้อหาสำคัญ รวมถึงรายละเอียดของหัวข้อนั้น สิ่งที่คุณทำได้ในบทความระดับนี้คือเพิ่มเติมเนื้อหาส่วนย่อย โดยไม่จำเป็นต้องลงทุกรายละเอียด ปรับปรุงการใช้ภาษา และการจัดรูปแบบ และทุกคนสามารถจัดระดับบทความให้อยู่ในระดับดีได้ โดยการใส่ {{บทความภูมิศาสตร์|ระดับ=ดี}} ไว้ที่หน้าอภิปราย

การจัดระดับคัดสรร แม่แบบภูมิศาสตร์ที่ปรากฏ
{{บทความภูมิศาสตร์|ระดับ=ดี}}


บทความระดับพอใช้

เป็นบทความภูมิศาสตร์ที่ มีเนื้อหาที่ดีเป็นหลักในบทความ แต่ยังขาดเนื้อหาสำคัญบางประเด็นในบทความ มีรูปแบบที่ดูเหมาะสม เช่น อาจจะขาด บางส่วนของเนื้อหาหลักของบทความ หรือ เนื้อหาย่อยที่สนับสนุนเนื้อหาหลักในบทความ ยังพอมีประโยชน์ต่อผู้อ่านกลุ่มหนึ่ง มีเนื้อหาในระดับที่เหมาะสม แต่ตัวผู้อ่านจำเป็นต้องหาแหล่งข้อมูลอื่น เพื่อทำความเข้าใจในภาพรวมของหัวข้อนั้น สิ่งที่คุณทำได้ในบทความระดับนี้คือการแก้ไขและเพิ่มเติมเนื้อหาหลักที่สำคัญ ปกติแล้วบทความนี้จะไม่มีป้าย {{เก็บกวาด}} หรือ {{โครง}} ปรากฏอยู่ และทุกคนสามารถจัดระดับบทความให้อยู่ในระดับพอใช้ได้ โดยการใส่ {{บทความภูมิศาสตร์|ระดับ=พอใช้}} ไว้ที่หน้าอภิปราย

การจัดระดับคัดสรร แม่แบบภูมิศาสตร์ที่ปรากฏ
{{บทความภูมิศาสตร์|ระดับ=พอใช้}}

ความระดับโครง (บทความสั้น)

เป็นบทความภูมิศาสตร์ที่มีเนื้อหาที่อธิบายที่อธิบายความหมายของหัวข้อนั้น โดยส่วนใหญ่จะมีลักษณะที่สั้น แต่ไม่สั้นมาก มีประโยชน์ต่อผู้อ่านที่ไม่รู้จักหรือไม่เคยได้ยินชื่อนั้นมาก่อน ในบทความสามารถอธิบายความหมายในภาพรวมได้ ซึ่งลักษณะนี้มักจะไม่มีประโยชน์ต่อผู้ใช้บางกลุ่มที่รู้จักบทความเป็นอย่างดี สิ่งที่คุณทำได้ในบทความระดับนี้คือ การเพิ่มเติมเนื้อหา สามารถปรับปรุงรูปแบบ และภาษาเช่นกัน โดยบทความในกลุ่มนี้ไม่จำเป็นต้องมีป้าย {{สั้นมาก}} และทุกคนสามารถจัดระดับบทความให้อยู่ในระดับพอใช้ได้ โดยการใส่ {{บทความภูมิศาสตร์|ระดับ=โครง}} ไว้ที่หน้าอภิปราย

การจัดระดับคัดสรร แม่แบบภูมิศาสตร์ที่ปรากฏ
{{บทความภูมิศาสตร์|ระดับ=โครง}}

บทความรายชื่อ

เป็นบทความภูมิศาสตร์ที่มีเนื้อหามีลักษณะเป็นรายชื่อ มีประโยชน์ต่อผู้อ่านเพื่อเป็นรวบรวมข้อมูลแบบรายชื่อ และใช้เป็นดัชนีไปบทความอื่น โดยต่างจากหมวดหมู่ที่อาจมีภาพ แหล่งอ้างอิง และคำอธิบายกำกับ แต่จะไม่ได้รับการจัดระดับเหมือนบทความทั่วไป และทุกคนสามารถจัดบทความที่ดูเหมือนมีลักษณะเป็นรายชื่อได้ โดยการใส่ {{บทความภูมิศาสตร์|ระดับ=รายชื่อ}} ไว้ที่หน้าอภิปราย

การจัดระดับคัดสรร แม่แบบภูมิศาสตร์ที่ปรากฏ
{{บทความภูมิศาสตร์|ระดับ=รายชื่อ}}

บทความหมวดหมู่

เป็นบทความภูมิศาสตร์ที่มีเนื้อหามีลักษณะเป็นหมวดหมู่ มีประโยชน์ต่อผู้อ่านเพื่อเป็นรวบรวมข้อมูลแบบหมวดหมู่ และใช้เป็นตัวรวมบทความอื่นที่เกี่ยวข้อง แต่จะไม่ได้รับการจัดระดับเหมือนบทความทั่วไป และทุกคนสามารถจัดบทความที่ดูเหมือนมีลักษณะเป็นภูมิศาสตร์หมู่ได้ โดยการใส่ {{บทความภูมิศาสตร์|ระดับ=หมวดหมู่}} ไว้ที่หน้าอภิปราย

การจัดระดับคัดสรร แม่แบบภูมิศาสตร์ที่ปรากฏ
{{บทความภูมิศาสตร์|ระดับ=หมวดหมู่}}

แม่แบบสำคัญทางภูมิศาสตร์

โครงการวิกิพี่น้อง

นอกจากนี้โครงการภูมิศาสตร์ยังมีโครงการพี่น้องดังนี้


โครงการวิกิถ้ำ

โครงการวิกิทะเลทราย

โครงการวิกิสิ่งแวดล้อม

โครงการวิกิธรณีวิทยา

โครงการวิกิธารน้ำแข็ง

โครงการวิกิเกาะ

โครงการวิกิเมือง

โครงการวิกิทะเลสาบ

โครงการวิกิภูเขา

โครงการวิกิมหาสมุทร

โครงการวิกิแม่น้ำ

โครงการวิกิภูเขาไฟ

โครงการวิกิน้ำตก

โครงการวิกิพายุหมุนเขตร้อน

โครงการวิกิทวีปเอเชีย

โครงการวิกิแอฟริกา

โครงการวิกิทวีปอเมริกาเหนือ

โครงการวิกิทวีปอเมริกาใต้

โครงการวิกิแอนตาร์กติกา

โครงการวิกิทวีปยุโรป

โครงการวิกิโอเชียเนีย
Kembali kehalaman sebelumnya