โกตากีนาบาลู
นครโกตากีนาบาลูBandaraya Kota Kinabalu การถอดเสียงภาษาอื่น • อักษรยาวี کوتا کينابالو • จีน 亞庇 (ตัวเต็ม ) สถานที่ต่าง ๆ ในโกตากีนาบาลู
ธง
ตรา
สมญา: KK
คำขวัญ: เมืองตากอากาศธรรมชาติ (Bandaraya Peranginan Semula Jadi)
โกตากีนาบาลู (ประเทศมาเลเซีย)
แสดงแผนที่ประเทศมาเลเซีย พิกัด: 05°58′30″N 116°04′21″E / 5.97500°N 116.07250°E / 5.97500; 116.07250 ประเทศ มาเลเซีย รัฐ รัฐซาบะฮ์ เขต ชายฝั่งตะวันตก จักรวรรดิบรูไน คริสต์ศตวรรษที่ 15–18 ก่อตั้งโดยบริษัทบอร์เนียวเหนือชาร์เตอร์ ค.ศ. 1882 ตั้งเป็นเมืองหลวงของบอร์เนียวเหนือ ค.ศ. 1946 สถานะเทศบาล 1 มกราคม ค.ศ. 1979 สถานะนคร 2 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 2000 อำเภอ โกตากีนาบาลู การปกครอง • นายกเทศมนตรี นูร์ลีซา อาวัง อาลิป (ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม ค.ศ. 2021) • ส.ส. Chan Foong Hin (DAP ) (โกตากีนาบาลู ) (ตั้งแต่วันที่ 9 พฤษภาคม ค.ศ. 2018) พื้นที่ • นคร 351 ตร.กม. (136 ตร.ไมล์) • เขตเมือง 816 ตร.กม. (315 ตร.ไมล์) • รวมปริมณฑล 3,277 ตร.กม. (1,265 ตร.ไมล์) ความสูง[ 1] 5 เมตร (16 ฟุต) ประชากร (2019)
• นคร 572,500 คน • ความหนาแน่น 1,626 คน/ตร.กม. (4,210 คน/ตร.ไมล์) • เขตเมือง 796,900 คน • รวมปริมณฑล 1,092,400 คน ข้อมูลจากสำนักงานสถิติแห่งชาติมาเลเซีย (MyLocal Stats ) Official Portal. Kota Kinabalu metropolitan area includes population residing in the districts of Penampang, Putatan, Tuaran and Papar. เขตเวลา UTC+8 (เวลามาตรฐานมาเลเซีย )รหัสไปรษณีย์ 88xxx; 89xxx รหัสพื้นที่ 088, 087 ป้ายทะเบียนยานพาหนะ EJ, EJA, EJB (1967–1980)[ 2] [ 3] SA (1980–2018) SY (2018–present) เว็บไซต์ dbkk .sabah .gov .my
โกตากีนาบาลู [ 4] (มลายู : Kota Kinabalu, کوتا کينا بالو ; จีน : 亚庇 ; พินอิน : Yàbì ) มีชื่อเดิมว่า เจสเซลตัน [ 5] (อังกฤษ : Jesselton ) และเป็นที่รู้จักในชื่อย่อว่า เคเค [ 6] [ 7] (มลายู : KK ) เป็นเมืองหลวงของรัฐซาบะฮ์ ประเทศมาเลเซีย เป็นเมืองที่ตั้งอยู่ชายฝั่งทะเลจีนใต้ทางตะวันตกของรัฐซาบะฮ์ และตั้งอยู่ทางตะวันตกเฉียงเหนือของเกาะบอร์เนียว มีประชากรราว 452,058 คน[ 8]
ปัจจุบันโกตากีนาบาลูเป็นแหล่งท่องเที่ยวที่สำคัญ และเปรียบเสมือนประตูสำหรับนักท่องเที่ยวที่เข้ามาเยือนซาบะฮ์และบอร์เนียว[ 9] นอกจากนี้โกตากีนาบาลูยังเป็นเมืองสำคัญทางอุตสาหกรรมและพาณิชย์ของมาเลเซียตะวันออก ทำให้ที่นี่เป็นหนึ่งในเมืองที่โตเร็วที่สุดของมาเลเซีย[ 10] [ 11]
ความสัมพันธ์กับนานาชาติ
มีหลายประเทศที่ตั้งสถานกงสุลที่โกตากีนาบาลู เช่นออสเตรเลีย,[ 12] บรูไน,[ 13] จีน,[ 14] เช็กเกีย,[ 15] เดนมาร์ก,[ 16] ฝรั่งเศส,[ 17] ฟินแลนด์,[ 18] อินโดนีเซีย,[ 19] ญี่ปุ่น,[ 20] นอร์เวย์,[ 21] ปานามา,[ 22] โรมาเนีย,[ 23] สโลวาเกีย,[ 24] สเปน,[ 25] สวีเดน[ 24] และสหราชอาณาจักร[ 26] [ 27]
เมืองพี่น้อง
ปัจจุบัน โกตากีนาบาลูมีเมืองพี่น้อง 16 แห่ง:
อ้างอิง
↑ "Malaysia Elevation Map (Elevation of Kota Kinabalu)" . Flood Map : Water Level Elevation Map. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม เมื่อ 22 August 2015. สืบค้นเมื่อ 22 August 2015 .
↑ Brumby, Victor (1 May 2014). "May 1 MALAYSIA UPDATE and NOTES ON SUFFIXES" . European Registration Plate Association (Europlate) blog. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม เมื่อ 10 December 2015. สืบค้นเมื่อ 10 December 2015 . About 1967, they added E as a prefix for new registrations in Sabah (for East Malaysia) (about 1967). and at unknown later date, added an S suffix to existing plates.
↑ "Malaysia license plates" . wordllicenseplates.com . คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม เมื่อ 18 April 2015. สืบค้นเมื่อ 10 December 2015 .
↑ ราชบัณฑิตยสถาน. พจนานุกรมชื่อภูมิศาสตร์สากล เล่ม 1 (อักษร A-L) ฉบับราชบัณฑิตยสถาน. กรุงเทพฯ : ราชบัณฑิตยสถาน, 2549, หน้า 612.
↑ "Kota Kinabalu" . ABC Sabah. สืบค้นเมื่อ 2009-08-12 .
↑ Charles De Ledesma, Mark Lewis, Pauline Savage Malaysia, Singapore & Brunei . Google Books, p. 508.
↑ "Dari Jesselton ke Kota Kinabalu" . Utusan Malaysia . 25 February 2010. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม เมื่อ 2013-06-19. สืบค้นเมื่อ 11 February 2013 .
↑ "Population Distribution by Local Authority Areas and Mukims, 2010" (PDF) . Department of Statistics, Malaysia. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF) เมื่อ 2015-02-05. สืบค้นเมื่อ 2012-04-10 .
↑ "Tourism hub set to lift Sabah real estate" . TheStar. 2007-06-11. สืบค้นเมื่อ 2008-01-15 .
↑ With a 233% increase in population from 1991 to 2007; Helders, Stefan. "Malaysia: largest cities and towns and statistics of their population" . World Gazetteer . คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม เมื่อ 2012-09-19. สืบค้นเมื่อ 2007-04-06 .
↑ Muguntan Vanar (September 20, 2010). "Rapid development in Kota Kinabalu has its drawbacks" . The Star, Malaysia. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม เมื่อ 2013-06-19. สืบค้นเมื่อ 2011-01-03 .
↑ "Australian Consulate in Kota Kinabalu, Sabah, Malaysia" . Department of Foreign Affairs and Trade. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม เมื่อ 4 February 2014. สืบค้นเมื่อ 11 June 2013 .
↑ "Consulate General of Brunei Darussalam in Kota Kinabalu, Sabah Malaysia" . Ministry of Foreign Affairs and Trade, Brunei. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม เมื่อ 6 June 2014. สืบค้นเมื่อ 3 June 2014 .
↑ "China opens consulate office in Malaysia's Sabah state" . Xinhua News Agency . China Internet Information Center . 27 April 2015. สืบค้นเมื่อ 27 April 2015 .
↑ "Opening of Czech Honorary Consulate boon to Sabah: Musa" . Daily Express . 15 October 2017. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม เมื่อ 15 October 2017. สืบค้นเมื่อ 15 October 2017 .
↑ "Danish Consulates" . Ministry of Foreign Affairs, Denmark. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม เมื่อ 6 June 2014. สืบค้นเมื่อ 3 June 2014 .
↑ "Consulate" . Embassy of France in Kuala Lumpur. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม เมื่อ 6 June 2014. สืบค้นเมื่อ 3 June 2014 .
↑ "Contact information: Honorary Consulate of Finland, Kota Kinabalu (Malaysia)" . Embassy of Finland, Kuala Lumpur. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม เมื่อ 12 November 2013. สืบค้นเมื่อ 11 June 2013 .
↑ "Consulate General of the Republic of Indonesia, Kota Kinabalu" . Consulate General of Indonesia, Kota Kinabalu, Sabah, Malaysia. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม เมื่อ 15 July 2014. สืบค้นเมื่อ 4 June 2014 .
↑ "Consular Office of Japan in Kota Kinabalu, Malaysia" . Consular Office of Japan in Kota Kinabalu. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม เมื่อ 2023-06-04. สืบค้นเมื่อ 11 June 2013 .
↑ Ottey Peter (21 January 2020). "Sabah hosts Norway's only Consulate in Malaysia" . Daily Express . คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม เมื่อ 21 January 2020. สืบค้นเมื่อ 22 January 2020 .
↑ "Panamanian Honorary Consulate General in Kota Kinabalu, Malaysia" . Sabah Government Portal. สืบค้นเมื่อ 23 January 2020 .[ลิงก์เสีย ]
↑ "Honorary Consulate of Romania in Kota Kinabalu" . ROMANIA Ministry of Foreign Affairs. สืบค้นเมื่อ 11 June 2013 .
↑ 24.0 24.1 "Honorary Consulates in Malaysia" (PDF) . European External Action Service . สืบค้นเมื่อ 2 June 2013 .
↑ David Thien (12 May 2019). "Spain opens Consulate in Sabah" . Daily Express . คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม เมื่อ 12 May 2019. สืบค้นเมื่อ 12 May 2019 .
↑ "Supporting British nationals in Malaysia" . Government of the United Kingdom . คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม เมื่อ 14 July 2014. สืบค้นเมื่อ 4 June 2014 . Working with local partners and honorary representatives in Penang, Langkawi, Kota Kinabalu and Kuching to assist British nationals
↑ "Kota Kinabalu Travel Guide – Mapcarta" . Iguide.travel. สืบค้นเมื่อ 14 November 2012 .
↑ "Global Friendship activities" . City of Rockingham Website. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม เมื่อ 17 March 2017. สืบค้นเมื่อ 17 March 2017 .
↑ "Remarks by Consul-General CHEN Peijie at the National Day Reception" . Consulate General of the People's Republic of China in Kota Kinabalu. 23 September 2016. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม เมื่อ 16 March 2017. สืบค้นเมื่อ 17 March 2017 .
↑ "KK-Hangzhou friendship city pact" . Daily Express . 21 September 2019. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม เมื่อ 23 September 2019. สืบค้นเมื่อ 23 September 2019 .
↑ 31.0 31.1 31.2 31.3 "Deepening Pragmatic Cooperation Between Sabah and China Jointly Build 21st-Century Maritime Silk Road" (PDF) . Sabah Economic Development and Investment Authority. 30 January 2018. p. 4. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF) เมื่อ 27 September 2019. สืบค้นเมื่อ 27 September 2019 . In terms of local governmental exchanges, Kota Kinabalu has signed sister-city MOU with cities in China such as Heyuan, Jiangmen, Wuhan and Hangzhou.
↑ Teh, Michael. "Hakka communities of KK, Heyuan City, China have much in common" . New Sabah Times . คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม เมื่อ 19 June 2013. สืบค้นเมื่อ 11 June 2013 .
↑ 33.0 33.1 Julia Chan (20 March 2015). "KK-Portland sister city pact could see US craft beer coming to Sabah" . Malay Mail Online . สืบค้นเมื่อ 7 January 2017 .
↑ "KK formally establishes relations with Wuhan" . Daily Express . 27 May 2015. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม เมื่อ 17 March 2017. สืบค้นเมื่อ 17 March 2017 .
↑ "Proposed Twinning of Kota Kinabalu and Xi'an as Sister Cities" . Sabah News Today. 4 June 2019. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม เมื่อ 26 September 2019. สืบค้นเมื่อ 26 September 2019 .
↑ "DBKK, X'ian association to sign MoU" . The Borneo Post . 23 July 2019. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม เมื่อ 26 September 2019. สืบค้นเมื่อ 26 September 2019 .
↑ "Xi'an seeks cooperation opportunities with Malaysia" . Government of Xi'an. 25 September 2019. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม เมื่อ 27 September 2019. สืบค้นเมื่อ 27 September 2019 .
↑ "Another city wants to be KK's sister" . The Borneo Post . 23 April 2010. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม เมื่อ 18 March 2017. สืบค้นเมื่อ 17 March 2017 .
↑ "Madagascar Council wants to bring more tourists to Sabah" . Daily Express . 27 March 2019. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม เมื่อ 26 September 2019. สืบค้นเมื่อ 26 September 2019 .
↑ "Vladivostok's Sister Cities" . Vladivostok City Council. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม เมื่อ 27 July 2015. สืบค้นเมื่อ 27 July 2015 .
↑ "KK and S. Korean city Gapyeong to be sister cities" . The Star . 7 December 2019. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม เมื่อ 23 August 2020. สืบค้นเมื่อ 23 August 2020 .
↑ Minsoo, Kim (8 December 2019). "김성기 가평군수, 관광 활성화 위해 말레이시아 방문해 가평군 홍보" [Gapyeong County Chief Kim Seong-gi visits Malaysia to promote Gapyeong County] (ภาษาเกาหลี). Kyeongin. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม เมื่อ 23 August 2020. สืบค้นเมื่อ 23 August 2020 .
↑ "Friendship Visit to Yongin by Kota Kinabalu City" . YONGIN City. 18 March 2010. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม เมื่อ 19 June 2013. สืบค้นเมื่อ 5 March 2012 .
↑ "지자체별" [By local government] (ภาษาเกาหลี). Governors Association of Korea. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม เมื่อ 27 September 2019. สืบค้นเมื่อ 27 September 2019 .
↑ 45.0 45.1 Mary Chin (5 May 2017). "City and cultural pacts with Taipei soon" . Daily Express . คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม เมื่อ 5 May 2017. สืบค้นเมื่อ 5 May 2017 .
↑ "Taoyuan-KK Friendship Pact proposed" . Daily Express . 24 January 2017. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม เมื่อ 16 March 2017. สืบค้นเมื่อ 17 March 2017 .
↑ "คู่ความสัมพันธ์เมืองพี่เมืองน้องระหว่างไทยกับต่างประเทศ (ณ วันที่31พฤษภาคม 2561)" [Sister relations between Thailand and foreign countries (As of 31 May 2018)] (PDF) . Foreign Affairs Division Office of the Permanent Secretary Ministry of Interior , Thailand. p. 3. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF) เมื่อ 27 September 2019. สืบค้นเมื่อ 27 September 2019 .
↑ Stephanie Lee (9 January 2016). "Partnership leads to growth" . The Star . สืบค้นเมื่อ 9 January 2016 .
อื่น ๆ
แหล่งข้อมูลอื่น
นครและเทศบาลที่ใหญ่ที่สุดในมาเลเซีย
กระทรวงสถิติ, ประเทศมาเลเซีย (2563)
[1]
อันดับ
ชื่อ
รัฐ
ประชากร
อันดับ
ชื่อ
รัฐ
ประชากร
กัวลาลัมเปอร์ กาจัง
1
กัวลาลัมเปอร์
ดินแดนสหพันธ์
1,982,112
11
อีโปะฮ์
รัฐเประ
759,952
เซอเบอรังเปอไร ซูบังจายา
2
กาจัง
รัฐเซอลาโงร์
1,047,356
12
เซอเริมบัน
รัฐเนอเกอรีเซิมบีลัน
681,541
3
เซอเบอรังเปอไร
รัฐปีนัง
946,092
13
อิซกันดาร์ปูเตอรี
รัฐยะโฮร์
575,977
4
ซูบังจายา
รัฐเซอลาโงร์
902,086
14
กวนตัน
รัฐปะหัง
548,014
5
กลัง
รัฐเซอลาโงร์
902,025
15
ซูไงเปอตานี
รัฐเกอดะฮ์
545,053
6
โจโฮร์บะฮ์รู
รัฐยะโฮร์
858,118
16
อัมปังจายา
รัฐเซอลาโงร์
531,904
7
ชะฮ์อาลัม
รัฐเซอลาโงร์
812,327
17
โกตากีนาบาลู
รัฐซาบะฮ์
500,425
8
จอร์จทาวน์
รัฐปีนัง
794,313
18
มะละกา
รัฐมะละกา
453,904
9
เปอตาลิงจายา
รัฐเซอลาโงร์
771,687
19
ซันดากัน
รัฐซาบะฮ์
439,050
10
เซอลายัง
รัฐเซอลาโงร์
764,327
20
อาโลร์เซอตาร์
รัฐเกอดะฮ์
423,868
นานาชาติ ประจำชาติ ภูมิศาสตร์ อื่น ๆ