Chemical element, symbol N and atomic number
ไนโตรเจน, 00 N ไนโตรเจน อัญรูป see § Allotropes รูปลักษณ์ เป็นธาตุไม่มีสี ไม่ว่าจะอยู่ในสถานะใด Standard atomic weight A r °(N)[ 14.00643 , 14.00728 ] 14.007± 0.001 (abridged)[ 1]
ไนโตรเจนในตารางธาตุ
หมู่ group 15 (pnictogens) คาบ คาบที่ 2 บล็อก บล็อก-p การจัดเรียงอิเล็กตรอน [He ] 2s2 2p3 จำนวนอิเล็กตรอนต่อชั้น 2, 5 สมบัติทางกายภาพ วัฏภาค ณ STP แก๊ส จุดหลอมเหลว 63.15 K (−210.00 °C, −346.00 °F) จุดเดือด 77.355 K (−195.795 °C, −320.431 °F) ความหนาแน่น (ณ STP) 1.251 g/L เมื่อเป็นของเหลว (ณ b.p. ) 0.808 g/cm3 Triple point 63.151 K, 12.52 kPa Critical point 126.192 K, 3.3958 MPa ความร้อนแฝงของการหลอมเหลว (N2 ) 0.72 kJ/mol ความร้อนแฝงของการกลายเป็นไอ (N2 ) 5.56 kJ/mol ความจุความร้อนโมลาร์ (N2 ) 29.124 J/(mol·K) ความดันไอ
P (Pa)
1
10
100
1 k
10 k
100 k
at T (K)
37
41
46
53
62
77
สมบัติเชิงอะตอม เลขออกซิเดชัน −3 , −2, −1, 0,[ 2] +1, +2, +3 , +4, +5 (ออกไซด์เป็นกรด ที่แรง)อิเล็กโตรเนกาทิวิตี Pauling scale: 3.04 รัศมีอะตอม calculated: 56 pm รัศมีโคเวเลนต์ 71±1 pm รัศมีวานเดอร์วาลส์ 155 pm Color lines in a spectral range เส้นสเปกตรัม ของไนโตรเจนสมบัติอื่น โครงสร้างผลึก เฮกซะโกนัล การนำความร้อน 25.83 × 10−3 W/(m⋅K) ความเป็นแม่เหล็ก ไดอะแมกเนติก ความเร็วของเสียง (gas, 27 °C) 353 m/s เลขทะเบียน CAS 7727-37-9 ประวัติศาสตร์ การค้นพบ แดเนียล รัทเทอร์ฟอร์ด (1772) Named by ยีน-อองตวน แชปทอล (1790) ไอโซโทปของไนโตรเจน ไม่มีหน้า แม่แบบ:กล่องข้อมูลไอโซโทปของไนโตรเจน หมวดหมู่: ไนโตรเจน | แหล่งอ้างอิง
ไนโตรเจน (อังกฤษ : Nitrogen ) เป็นธาตุเคมี ในตารางธาตุ ที่มีสัญลักษณ์ N และเลขอะตอม 7 เป็นอโลหะ ที่มีสถานะเป็นแก๊สที่มีอยู่ทั่วไป โดยปกติไม่มีสี กลิ่น หรือรส แต่ละโมเลกุล มี 2 อะตอม ไนโตรเจนเป็นส่วนประกอบของบรรยากาศ ของโลกถึง 78 เปอร์เซ็นต์ และเป็นส่วนประกอบของเนื้อเยื่อในสิ่งมีชีวิต นอกจากนี้ไนโตรเจนยังเป็นส่วนประกอบในสารประกอบที่สำคัญหลายชนิด เช่น กรดอะมิโน แอมโมเนีย กรดไนตริก และสารจำพวกไซยาไนด์
ลักษณะทั่วไป
ไนโตรเจนเป็นธาตุอโลหะที่มีค่าอิเล็กโตรเนกาติวิตี 3.04 มีเวเลนซ์อิเล็กตรอน 5 ตัว ไนโตรเจนบริสุทธิ์มีสถานะเป็นแก๊สที่อุณหภูมิห้อง ไม่มีสี ไม่มีกลิ่น และไม่มีรส เป็นส่วนประกอบที่สำคัญของบรรยากาศโลก เนื่องจากมีปริมาณมากถึงร้อยละ 78 ของอากาศไนโตรเจนจะควบแน่นเป็นไนโตรเจนเหลวที่อุณหภูมิ 77 เคลวินและแข็งตัวที่อุณหภูมิ 63 เคลวิน
การนำไปใช้ประโยชน์
ใช้เติมในลมยางของอากาศยานและยานยนต์
แอมโมเนีย ใช้เป็นอาวุธในสมัยสงครามโลกครั้งที่ 2 และใช้เป็นปุ๋ย ในพืช
ยูเรีย ใช้เป็นปุ๋ย ในพืช
กรดไนตริก ผสมกับกรดไฮโดรคลอริก จะได้อควารีเจีย หรือกรดกัดทอง สามารถละลายทองคำ ได้
ไนตรัสออกไซด์ หรือก๊าซหัวเราะ ใช้เป็นยาสลบ ในทางทันตกรรม
โซเดียมเอไซด์ ใช้บรรจุในถุงลมนิรภัย
ไนโตรเจนเหลว ใช้ในงานเชื่อมท่อทองแดงไม่ให้เกิดอ๊อกไซด์
ใช้ในงานอุตสาหกรรมได้หลายประการ เช่น นำไปสังเคราะห์ก๊าซแอมโมเนีย ในอุตสาหกรรมสามารถใช้แอมโมเนีย และกรดไนตริกไปสังเคราะห์สารอื่นที่มีประโยชน์ เช่น ปุ๋ย สี ยารักษาโรค วัตถุระเบิด ปลาสติก นอกจากนั้นยังใช้ไนโตรเจนเหลวเป็นตัวทำความเย็น ในวิศวกรรมที่เกี่ยวข้องกับภาวะเย็นจัดยวดยิ่ง ใช้ก๊าซไนโตรเจนบรรจุในหลอดไฟฟ้าชนิดใช้เส้นลวดโลหะเป็นไส้ เพื่อป้องกันไม่ให้ไส้หลอดขาดเร็ว ใช้บรรจุในหลอดเทอร์โมมิเตอร์ที่ใช้วัดอุณหภูมิสูง ใช้ในอุตสาหกรรมเชื่อมโลหะคือ ใช้ก๊าซไนโตเจนเป็นตัวกัน มิให้ออกซิเจนในอากาศเข้าไปทำปฎิกิริยากับโลหะ ในขณะเชื่อม[ 3]
อ้างอิง
แหล่งข้อมูลอื่น