จังหวัดธนบุรีในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป ธันวาคม พ.ศ. 2500
|
|
3 ที่นั่งในสภาผู้แทนราษฎรไทย |
---|
ลงทะเบียน | 176,265 |
---|
ผู้ใช้สิทธิ | 43.35% |
---|
|
|
การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดธนบุรี ธันวาคม พ.ศ. 2500 เป็นส่วนหนึ่งของการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป ธันวาคม พ.ศ. 2500 กำหนดให้มีขึ้นในวันที่ 15 ธันวาคม พ.ศ. 2500 โดยแบ่งเขตการเลือกตั้งออกเป็น 1 เขตเลือกตั้ง มีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้ 3 คน จำนวนที่นั่งเท่าเดิมจากการเลือกตั้งครั้งก่อนเมื่อเดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. 2500 แต่ละเขตเลือกตั้งจะมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้เขตละ 3 คน[1]
ภาพรวม
ผลการเลือกตั้ง
สัญลักษณ์และความหมาย
|
* |
ส.ส.ระบบเขตเลือกตั้งที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
|
** |
ส.ส.ระบบบัญชีรายชื่อที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
|
† |
ผู้สมัครที่ถูกตัดสิทธิ์
|
✔ |
ผู้สมัครที่เคยดำรงตำแหน่งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรมาแล้ว
|
( ) |
หมายเลขประจำตัวของผู้สมัคร
|
ตัวหนา |
ผู้สมัครที่ชนะการเลือกตั้ง
|
จังหวัดธนบุรีในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไปเพิ่มเติม พ.ศ. 2501
|
|
3 ที่นั่งเพิ่มเติมในสภาผู้แทนราษฎรไทย |
---|
ลงทะเบียน | 181,287 |
---|
ผู้ใช้สิทธิ | 33.16% |
---|
|
การเลือกตั้งเพิ่มเติม 30 มีนาคม พ.ศ. 2501
หลังจากการเลือกตั้งทั่วไปในเดือนธันวาคม พ.ศ. 2500 ก็ได้มีพระราชกฤษฎีกาให้เลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรประเภทที่ 1 เพิ่มขึ้นเท่าจำนวนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรประเภทที่ 2 พ.ศ. 2501[2] ใน 5 จังหวัด ได้แก่ จังหวัดพระนคร, จังหวัดธนบุรี, จังหวัดกาฬสินธุ์, จังหวัดร้อยเอ็ด และ จังหวัดอุบลราชธานี กำหนดให้มีขึ้นในวันที่ 30 มีนาคม พ.ศ. 2501 โดยจังหวัดธนบุรี แบ่งเขตการเลือกตั้งออกเป็น 1 เขตเลือกตั้ง มีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเพิ่มอีก 3 คน แต่ละเขตเลือกตั้งจะมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้เขตละ 3 คน
ภาพรวม
ผลการเลือกตั้ง
สัญลักษณ์และความหมาย
|
* |
ส.ส.ระบบเขตเลือกตั้งที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
|
** |
ส.ส.ระบบบัญชีรายชื่อที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
|
† |
ผู้สมัครที่ถูกตัดสิทธิ์
|
✔ |
ผู้สมัครที่เคยดำรงตำแหน่งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรมาแล้ว
|
( ) |
หมายเลขประจำตัวของผู้สมัคร
|
ตัวหนา |
ผู้สมัครที่ชนะการเลือกตั้ง
|
ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดธนบุรี
|
พรรค
|
ผู้สมัคร
|
คะแนนเสียง
|
%
|
±
|
|
ประชาธิปัตย์
|
พลเรือตรี ชลี สินธุโสภณ (7)
|
23,436
|
|
|
|
ประชาธิปัตย์
|
ประสิทธิ์ แย้มเพียร (5)
|
20,942
|
|
|
|
ประชาธิปัตย์
|
ชาย สัจจะ (6)
|
20,429
|
|
|
|
ชาติสังคม
|
เพทาย โชตินุชิต (10)✔
|
19,965
|
|
|
|
ไม่สังกัดพรรค
|
เสน่ห์ โกมารชุน (11)
|
14,007
|
|
|
|
สหภูมิ
|
พักตร์ หงษ์ทอง (1)
|
13,834
|
|
|
|
ชาติสังคม
|
บุญยง นิ่มสมบุญ (9)
|
13,217
|
|
|
|
ชาติสังคม
|
จิตร ทังสุบุตร (8)
|
12,307
|
|
|
|
เสรีมนังคศิลา
|
สุริยะ ขีตตะสังคะ (12)*
|
8,438
|
|
|
|
สหภูมิ
|
ร้อยตรี ชุมพล กรณ์เกษม (2)
|
4,421
|
|
|
|
ไม่สังกัดพรรค
|
ร้อยตำรวจเอก มังกร สุวรรณะชฎ (4)
|
4,113
|
|
|
|
ไม่สังกัดพรรค
|
ร้อยตำรวจเอก ชาญ กระตุฤกษ์ (3)
|
3,813
|
|
|
|
ไม่สังกัดพรรค
|
ประหยัด เอี่ยมศิลา (13)
|
3,527
|
|
|
บัตรดี
|
|
|
–
|
ไม่ประสงค์ลงคะแนน
|
|
|
–
|
บัตรเสีย
|
|
|
–
|
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง
|
|
|
–
|
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง
|
|
|
—
|
|
ประชาธิปัตย์
ชนะที่นั่ง (เขตเลือกตั้งใหม่)
|
|
ประชาธิปัตย์
ชนะที่นั่ง (เขตเลือกตั้งใหม่)
|
|
ประชาธิปัตย์
ชนะที่นั่ง (เขตเลือกตั้งใหม่)
|
ดูเพิ่ม
อ้างอิง