ปอดบวมน้ำ (อังกฤษ: Pulmonary edema หรือ pulmonary congestion) เป็นการคั่งของของเหลวในเนื้อเยื่อและถุงลมของปอด[1] ส่งผลให้เกิดความผิดปกติของการแลกเปลี่ยนก๊าซและอาจนำไปสู่การหายใจล้มเหลว อาการนี้อาจเกิดจากหัวใจห้องล่างซ้ายไม่สามารถนำเลือดออกจากระบบหมุนเวียนเลือดของปอดได้ (ปอดบวมน้ำเหตุหัวใจ; cardiogenic pulmonary edema) หรือเกิดจากการบาดเจ็บของเนื้อเยื่อปอดหรือหลอดเลือดของปอด (ปอดบวมน้ำไม่ใช่เหตุหัวใจ; non-cardiogenic pulmonary edema)[2] จุดสำคัญในการให้การรักษามีอยู่ 3 จุด ได้แก่ การช่วยหายใจ การรักษาภาวะที่เป็นสาเหตุ และการป้องกันไม่ให้ปอดเสียหายเพิ่มเติม ภาวะนี้สามารถทำให้เกิดการหายใจล้มเหลวและหัวใจหยุดเต้นจากภาวะพร่องออกซิเจนได้ โดยเฉพาะกรณีที่เกิดขึ้นอย่างรวดเร็ว
อ้างอิง
แหล่งข้อมูลอื่น
|
---|
ทางเดินหายใจส่วนบน (รวมการติดเชื้อ ทางเดินหายใจส่วนบน, โรคหวัด) | |
---|
ทางเดินหายใจส่วนล่าง/ โรคปอด (รวมการติดเชื้อ ทางเดินหายใจส่วนล่าง) | หลอดลม/ โรคปอดอุดกั้น | |
---|
โรคของเนื้อปอด/ โรคปอดถูกจำกัด (พังผืดของปอด) | สารภายนอก/ โรคปอดเหตุอาชีพ | โรคฝุ่นจับปอด ( โรคใยหินจับปอด, โรคฝุ่นแร่แบเรียมจับปอด, พังผืดจากแร่บ๊อกไซต์, โรคฝุ่นแร่เบอริลเลียมจับปอด, กลุ่มอาการแคปแลน, โรคฝุ่นจับปอดของคนงานเหมืองถ่านหิน, โรคฝุ่นแร่เหล็กจับปอด, โรคฝุ่นหินจับปอด, โรคฝุ่นแป้งจับปอด, บิสซิโนซิส) ปอดอักเสบจากการแพ้ ( โรคละอองชานอ้อย, โรคปอดของคนเลี้ยงนก, โรคปอดของชาวนา) |
---|
อื่น ๆ | |
---|
|
---|
โรคปอดอุดกั้น หรือถูกจำกัด | |
---|
|
---|
โพรงเยื่อหุ้มปอด/ เมดิแอสตินัม | |
---|
อื่น ๆ/ทั่วไป | |
---|
|
|
---|
การลดลง | |
---|
การเพิ่มขึ้น | อาการเลือดออก |
- ทั่วไป รอยฟกช้ำ/ก้อนเลือดขัง: จุดเลือดออก
- โรคกาฬม่วง
- เลือดออกใต้ผิว
เฉพาะที่: ศีรษะ (การตกเลือดกำเดา, อาการไอเป็นเลือด, การตกเลือดในกะโหลก, การตกเลือดในตา, การตกเลือดใต้เยื่อตา)
- อก (ภาวะโพรงเยื่อหุ้มปอดมีเลือด, ภาวะถุงหุ้มหัวใจมีเลือด, ก้อนเลือดขังในปอด)
- ท้อง (อาการเลือดออกในกระเพาะและลำไส้, การตกเลือดในระบบน้ำดี, ช่องท้องมีเลือด, กล่อนเลือด, ภาวะมีเลือดในท่อนำไข่)
- ข้อ (โรคเลือดออกในข้อ)
|
---|
อาการบวมน้ำ | |
---|
อื่น ๆ | |
---|
|
---|
|