Share to:

 

ฟุตบอลทีมชาติเติร์กเมนิสถาน

เติร์กเมนิสถาน
Shirt badge/Association crest
ฉายามรกต
เขียว
นักรบการากุม
สมาคมTürkmenistanyň Futbol federasiýasy (TFF)
สมาพันธ์ย่อยCAFA (เอเชียกลาง)
สมาพันธ์เอเอฟซี (เอเชีย)
หัวหน้าผู้ฝึกสอนMergen Orazow[1]
ติดทีมชาติสูงสุดArslanmyrat Amanow (63)[2]
ทำประตูสูงสุดWladimir Baýramow (16)[3]
สนามเหย้าสนามกีฬาโอลิมปิคอาชกาบัต
รหัสฟีฟ่าTKM
อันดับฟีฟ่า
อันดับปัจจุบัน 143 Steady (19 ธันวาคม 2024)[4]
อันดับสูงสุด86 (เมษายน 2004)
อันดับต่ำสุด174 (กันยายน 2007)
เกมระดับนานาชาติครั้งแรก
ธงชาติคาซัคสถาน คาซัคสถาน 1–0 เติร์กเมนิสถาน ธงชาติเติร์กเมนิสถาน
(อัลมาเตอ ประเทศคาซัคสถาน; 1 มิถุนายน ค.ศ. 1992)[5]
ชนะสูงสุด
ธงชาติเติร์กเมนิสถาน เติร์กเมนิสถาน 11–0 อัฟกานิสถาน ธงชาติอัฟกานิสถาน
(อาชกาบัต ประเทศเติร์กเมนิสถาน; 19 พฤศจิกายน ค.ศ. 2003)
แพ้สูงสุด
ธงชาติคูเวต คูเวต 6–1 เติร์กเมนิสถาน ธงชาติเติร์กเมนิสถาน
(คูเวตซิตี ประเทศคูเวต; 10 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 2000)
ธงชาติทาจิกิสถาน ทาจิกิสถาน 5–0 เติร์กเมนิสถาน ธงชาติเติร์กเมนิสถาน
(ดูชานเบ ประเทศทาจิกิสถาน; 22 มิถุนายน ค.ศ. 1997)
ธงชาติประเทศกาตาร์ กาตาร์ 5–0 เติร์กเมนิสถาน ธงชาติเติร์กเมนิสถาน
(โดฮา ประเทศกาตาร์; 31 พฤษภาคม ค.ศ. 2004)
ธงชาติบาห์เรน บาห์เรน 5–0 เติร์กเมนิสถาน ธงชาติเติร์กเมนิสถาน
(อัรริฟาอ์ ประเทศบาห์เรน; 3 สิงหาคม ค.ศ. 2005)
ธงชาติเกาหลีใต้ เกาหลีใต้ 5–0 เติร์กเมนิสถาน ธงชาติเติร์กเมนิสถาน
(โกยัง ประเทศเกาหลีใต้; 5 มิถุนายน ค.ศ. 2021)
ธงชาติอิหร่าน อิหร่าน 5–0 เติร์กเมนิสถาน ธงชาติเติร์กเมนิสถาน
(เตหะราน ประเทศอิหร่าน; 21 มีนาคม ค.ศ. 2024)
เอเชียนคัพ
เข้าร่วม2 (ครั้งแรกใน 2004)
ผลงานดีที่สุดรอบกลุ่ม (2004, 2019)
CAFA Nations Cup
เข้าร่วม1 (ครั้งแรกใน 2023)
ผลงานดีที่สุดรอบกลุ่ม (2023)
เอเอฟซีแชลเลนจ์คัพ
เข้าร่วม4 (ครั้งแรกใน 2008)
ผลงานดีที่สุดรองชนะเลิศ (2010, 2012)

ฟุตบอลทีมชาติเติร์กเมนิสถาน (เติร์กเมน: Türkmenistanyň milli futbol ýygyndysy) เป็นทีมชาติฟุตบอลของเติร์กเมนิสถาน ภายใต้การดูแลของสหพันธ์ฟุตบอลเติร์กเมนิสถาน และสมาพันธ์ฟุตบอล AFC หลังจากที่ประเทศได้รับเอกราช เติร์กเมนิสถานได้แข่งขันฟุตบอลระดับนานาชาติครั้งแรกกับคาซัคสถาน เมื่อ 1 มิถุนายน พ.ศ. 2535 เคยผ่านเข้ารอบสุดท้ายฟุตบอลเอเชียนคัพ ปี 2547 แต่ได้คะแนนเดียวจากซาอุดิอาระเบีย

ฟุตบอลโลก

  • 1994 – ไม่ได้เข้าร่วม
  • 1998 ถึง 2026 – ไม่ผ่านรอบคัดเลือก

เอเชียนคัพ

เอเชียนคัพรอบสุดท้าย
ปี ผล ตำแหน่ง GP W D* L GS GA
ญี่ปุ่น 1992 ไม่ได้เข้าร่วม - - - - - -
สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ 1996 ไม่ผ่านเข้ารอบ - - - - - -
เลบานอน 2000 ไม่ผ่านเข้ารอบ - - - - - -
จีน 2004 รอบแรก 3 0 1 2 4 6
อินโดนีเซียมาเลเซียไทยเวียดนาม 2007 ไม่ผ่านเข้ารอบ - - - - - -
ประเทศกาตาร์ 2011 ไม่ผ่านเข้ารอบ - - - - - -
ออสเตรเลีย 2015 - - - - - -
สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ 2019 รอบแรก อันดับที่ 21 3 0 0 3 3 10
ประเทศกาตาร์ 2023 ไม่ผ่านเข้ารอบ - - - - - -
ทั้งหมด ดีที่สุด: รอบ 1 6 0 1 5 7 16

เอเชียนเกมส์

เจ้าภาพ / ปี ผล GP W D* L GS GA
ทีมชาติ
ญี่ปุ่นฮิโรชิมะ 1994 รอบ 8 ทีมสุดท้าย 5 1 3 1 7 9
ไทย กรุงเทพมหานคร 1998 รอบ 8 ทีมสุดท้าย 6 3 2 1 10 9
ทั้งหมด ดีที่สุด: รอบ 8 ทีมสุดท้าย 11 4 5 2 17 18

หมายเหตุ: ตั้งแต่ ปี 2002 ใช้ทีมชาติอายุไม่เกิน 23 ปีที่เข้าร่วมแข่งขัน

อ้างอิง

  1. "Мерген Оразов назначен главным тренером сборной Туркменистана по футболу". เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 13 January 2023. สืบค้นเมื่อ 13 January 2023.
  2. Strack-Zimmermann, Benjamin. "Arslanmyrat Amanow". www.national-football-teams.com. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 21 March 2019. สืบค้นเมื่อ 3 June 2019.
  3. "Players with 100+ Caps and 30+ International Goals". RSSSF. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 28 June 2011. สืบค้นเมื่อ 3 June 2019.
  4. "The FIFA/Coca-Cola World Ranking". FIFA. 19 ธันวาคม 2024. สืบค้นเมื่อ 19 ธันวาคม 2024.
  5. http://soccer-db.net/get_scores.php?page=2&status=%&notes=&id=tkm&game= [ลิงก์เสีย]

แหล่งข้อมูลอื่น

Kembali kehalaman sebelumnya