หม่อมเจ้าคำงอก ทองแถม (8 มีนาคม พ.ศ. 2431 – 20 มกราคม พ.ศ. 2472) พระโอรสในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงสรรพสาตรศุภกิจ กับหม่อมเจ้าสุวรรณ ทองแถม (ราชสกุลเดิม นิลรัตน)
หม่อมเจ้าคำงอกทรงรับราชการในกรมพระคลังมหาสมบัติ โดยเป็นข้าหลวงพระคลังมณฑลอุดรระหว่างปี พ.ศ. 2451 - 2455 และเป็นข้าหลวงพระคลังมณฑลภูเก็ตระหว่างปี พ.ศ. 2455 - 2459[1]
โอรส-ธิดา
ทรงมีหม่อมห้าม 3 คนคือ หม่อมแฟร์ หม่อมมงคล และหม่อมเรียม มีโอรสธิดารวม 11 คนคือ[2]
- แพทย์หญิง หม่อมราชวงศ์หญิงนันทา ชุติกร
- หม่อมราชวงศ์คำเพิ่ม ทองแถม
- หม่อมราชวงศ์หญิงกุนตี อ่องระเบียบ
- หม่อมราชวงศ์หญิงศรีคำ สุนทานนท์
- หม่อมราชวงศ์หญิงเกศินี ทองแถม
- หม่อมราชวงศ์หญิงสุมิตรา ภักดีสมบัติ
- หม่อมราชวงศ์ธารี ทองแถม
- เรืออากาศเอก หม่อมราชวงศ์คำพูน ทองแถม
- หม่อมราชวงศ์คำพัฒน์ ทองแถม
- พันเอก (พิเศษ) หม่อมราชวงศ์ทองพรรณเจริญ ทองแถม
- หม่อมราชวงศ์หญิงพีพวงคำ วัฒนานันท์
พระยศ
- – รองอำมาตย์เอก
- 3 ตุลาคม 2456 – อำมาตย์ตรี[3]
- 19 ธันวาคม 2462 – จ่า[4]
- 8 มกราคม 2462 – อำมาตย์โท[5]
พระยศเสือป่า
- 14 มิถุนายน 2457 – นายหมู่ตรี[6]
- 4 กรกฎาคม 2458 – นายหมวดตรี[7]
เครื่องราชอิสริยาภรณ์
พงศาวลี
พงศาวลีของหม่อมเจ้าคำงอก ทองแถม
|
|
อ้างอิง
- ↑ "สำเนาที่เก็บถาวร". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2017-05-30. สืบค้นเมื่อ 2017-05-31.
- ↑ หนังสืออนุสรณ์งานพระราชทานเพลิงศพหม่อมราชวงศ์หญิงศรีคำ ทองแถม
- ↑ พระราชทานยศ
- ↑ ประกาศกรมบัญชาการกลางมหาดเล็ก
- ↑ "พระราชทานยศ" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา: 3204. 18 มกราคม 1919.
- ↑ ส่งสัญญาบัตรเสือป่าไปพระราชทาน
- ↑ พระราชทานเลื่อนยศนายเสือป่า
- ↑ ราชกิจจานุเบกษา, พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์, เล่ม ๔๑ ตอนที่ ๐ ง หน้า ๓๕๐๕, ๑ มกราคม ๒๔๖๗
- ↑ ราชกิจจานุเบกษา, พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์, เล่ม ๓๖ ตอนที่ ๐ ง หน้า ๓๒๙๓, ๒๕ มกราคม ๒๔๖๒
- ↑ ราชกิจจานุเบกษา, ส่งเครื่องราชอิสริยาภรณ์ไปพระราชทาน, เล่ม ๔๓ ตอนที่ ๐ ง หน้า ๔๖๔, ๒ พฤษภาคม ๒๔๖๙
- ↑ ราชกิจจานุเบกษา, พระราชทานเหรียญรัตนาภรณ์รัชกาลปัจจุบัน, เล่ม ๓๖ ตอนที่ ๐ ง หน้า ๓๓๒๐, ๒๕ มกราคม ๒๔๖๒