Share to:

 

เจเนราลิสซีโม


เจเนราลิสซีโม (generalissimo) เป็นคำในภาษาอิตาลี มาจากคำว่า generale ประสมกับส่วนต่อท้ายคำ -issimo ซึ่งมาจากภาษาละติน -issimus[1] ซึ่งหมายถึง "อย่างที่สุด, ไปจนถึงขั้นสูงสุด" เป็นยศทางทหารที่สูงกว่าจอมพล

เจเนราลิสซีโมเป็นผู้คุมอำนาจทางทหารอย่างเบ็ดเสร็จ ในบางครั้ง "เจเนราลิสซีโม" ถูกใช้ในภาษาอังกฤษใหม่ โดยมีความหมายถึง นายทหารผู้ซึ่งได้รับอำนาจทางการเมืองจากการก่อรัฐประหาร หรือในบางกรณีที่หมายถึงผู้ที่สั่งระงับรัฐธรรมนูญฉบับก่อนหน้า เพื่อที่จะครอบครองอำนาจด้วยวิธีทางทหาร

รายพระนามและรายนามผู้ครองยศเจเนราลิสซีโม

ชื่อ สังกัด (กองทัพ) ประเทศ ดำรงตำแหน่ง หมายเหตุ
เจ้าชายหลุยส์ โดแฟ็งแห่งฝรั่งเศส สงครามสืบราชบัลลังก์สเปน  ฝรั่งเศส ค.ศ. 1708
ฌ็อฟร์, โฌแซ็ฟโฌแซ็ฟ ฌ็อฟร์ กองทัพบกฝรั่งเศส  ฝรั่งเศส ค.ศ. 1914 จอมพลแห่งฝรั่งเศส ในฐานะผู้บัญชาการทหารบกฝรั่งเศส généralissime.
ฟ็อช, แฟร์ดีน็องแฟร์ดีน็อง ฟ็อช กองทัพบกฝรั่งเศส  ฝรั่งเศส ค.ศ. 1918 Généralissime was the title used to describe Ferdinand Foch's Allied Command, starting 26 March 1918. He actually held the rank of général de division, and later the dignity of Marshal of France.[2]
กาเมอแล็ง, มอริสมอริส กาเมอแล็ง กองทัพบกฝรั่งเศส  ฝรั่งเศส ค.ศ. 1939 จอมพลแห่งกองทัพ ในฐานะผู้บัญชาการกองทัพฝรั่งเศส généralissime.
เวย์แกนด์, แมกซิมแมกซิม เวย์แกนด์ กองทัพบกฝรั่งเศส  ฝรั่งเศส ค.ศ. 1939 จอมพลแห่งกองทัพ ในฐานะผู้บัญชาการกองทัพฝรั่งเศส généralissime.
ยฺเหวียน ชื่อไข่ กองทัพเป่ย์หยาง จีน ค.ศ. 1913 ต้าหยวนฉ่วย
ซุน ยัตเซ็น กองทัพสงบแห่งชาติ  จีน ค.ศ. 1921 ต้าหยวนฉ่วย หรือ จอมพลสูงสุดโดยตำแหน่ง[3] (source does not support this)
จาง จั้วหลิน กองทัพสงบแห่งชาติ จีน ค.ศ. 1927 ต้าหยวนฉ่วย
เจียง ไคเชก กองทัพปฏิวัติแห่งชาติจีน  จีน ค.ศ. 1935 Tèjí Shàngjiàng (特級上將), "Generalissimo"[4]

[Note 1]

เหมา เจ๋อตง กองทัพปลดปล่อยประชาชน  จีน ค.ศ. 1955 เคยถูกเสนอยศ เจเนราลิสซีโมแห่งสาธารณรัฐประชาชนจีน (declined usage)
ฟรันซิสโก เด มิรันดา กองทัพบกเวเนซุเอลา  เวเนซุเอลา ค.ศ. 1812
มิเกล อิดัลโก กองทัพปฏิวัติเม็กซิโก  เม็กซิโก กันยายน 1810 – กุมภาพันธ์ 1811 [5]
ฟรันซิสโก ฟรังโก กองทัพสเปน  สเปน ค.ศ. 1936–1975 generalísimo[6]
เอมีลีโอ อากีนัลโด กองทัพปฏิวัติฟิลิปปินส์  สาธารณรัฐฟิลิปปินส์ ค.ศ. 1898–1901 Heneralismo[7]
Ihsan Nuri Ararat Forces Kurdish Republic of Ararat ค.ศ. 1927–1930 [8]
เจ้าชายคาร์ล โยฮัน มกุฎราชกุมารแห่งสวีเดนและนอร์เวย์ กองทัพบกสวีเดน  สวีเดน ค.ศ. 1810–1818 [9]

[Note 2]

คาร์ล ฟิลลิพ เจ้าชายแห่งชวาร์ทเซินแบร์ค กองทัพบกออสเตรีย  ออสเตรีย ค.ศ. 1813–1814
อะเลคซันดร์ เมนชีคอฟ กองทัพบกจักรวรรดิรัสเซีย  รัสเซีย ค.ศ. 1727–1728 [10]
อะเลคซันดร์ ซูโวรอฟ กองทัพบกจักรวรรดิรัสเซีย  รัสเซีย ค.ศ. 1799
โจเซฟ สตาลิน กองทัพโซเวียต  สหภาพโซเวียต ค.ศ. 1945 เจเนราลิสซีโมแห่งสหภาพโซเวียต[11] (declined)
คิม อิล-ซ็อง กองทัพประชาชนเกาหลี  เกาหลีเหนือ ค.ศ. 1992 แทว็อนซู[12]
คิม จ็อง-อิล กองทัพประชาชนเกาหลี  เกาหลีเหนือ ค.ศ. 2012 แทว็อนซู (Promoted posthumously)[13]
ราฟาเอล ตรูฮิโย กองทัพบกโดมินิกัน  สาธารณรัฐโดมินิกัน ค.ศ. 1930 [14]
Albrecht von Wallenstein สงคราม 30 ปี  จักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ ภายใต้ "พระบัญชาแห่งจักรพรรดิ์"[15] ค.ศ. 1625 [16]
Johann t’Serclaes von Tilly สงคราม 30 ปี  จักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ ภายใต้ "พระบัญชาแห่งจักรพรรดิ์"[15] ค.ศ. 1630 [16]
จอร์จ วอชิงตัน Continental Army
กองทัพบกสหรัฐ
 สหรัฐอเมริกา ค.ศ. 1776 เจนรัลออฟดิอาร์มีส์ Promoted posthumously [17]
ยูลิสซีส เอส. แกรนต์ กองทัพบกสหรัฐ  สหรัฐอเมริกา ค.ศ. 1866 เจนรัลออฟดิอาร์มีส์ Promoted posthumously
จอห์น เจ. เพอร์ชิง American Expeditionary Forces  สหรัฐอเมริกา ค.ศ. 1919 เจนรัลออฟดิอาร์มีส์[18]
ดีเอโดโร ดา ฟอนเซกา กองทัพบกบราซิล  บราซิล ค.ศ. 1890 ประธานาธิบดีคนแรกของสาธารณรัฐบราซิล ภายหลังการล่มสลายของจักรวรรดิ
พระเจ้าวิตโตรีโอ เอมานูเอเลที่ 3 แห่งอิตาลี กองทัพบกราชอาณาจักรอิตาลี  อิตาลี ค.ศ. 1938 จอมพลอันดับที่หนึ่งแห่งจักรวรรดิ
เบนิโต มุสโสลินี กองทัพบกราชอาณาจักรอิตาลี  อิตาลี ค.ศ. 1938 จอมพลอันดับที่หนึ่งแห่งจักรวรรดิ
แฮร์มัน เกอริง ลุฟท์วัฟเฟอ  ไรช์เยอรมัน ค.ศ. 1940 แต่งตั้งโดยฟือเรอร์แห่งเยอรมัน อดอล์ฟ ฮิตเลอร์ โดยมียศเป็นจอมพลไรช์ (ไรซ์มาร์แชล)
จักรพรรดิเมจิ กองทัพจักรวรรดิญี่ปุ่น  ญี่ปุ่น ค.ศ. 1872–1912 ได-เก็นซุย
จักรพรรดิไทโช กองทัพจักรวรรดิญี่ปุ่น  ญี่ปุ่น ค.ศ. 1912–1926 ได-เก็นซุย
จักรพรรดิโชวะ กองทัพจักรวรรดิญี่ปุ่น  ญี่ปุ่น ค.ศ. 1926–1945 ได-เก็นซุย
เจ้าชายเจมส์ ดยุกแห่งยอร์ก สงครามอังกฤษ-เนเธอร์แลนด์ครั้งที่สาม  อังกฤษ ค.ศ. 1673
เจ้าชายเยิร์นแห่งเดนมาร์ก กองทัพบกสหราชอาณาจักร  บริเตนใหญ่ ค.ศ. 1702

ยศทหาร

ดูเพิ่ม

เชิงอรรถ

  1. Chiang Kai-shek was a 特級上將 ("general special class") of the Republic of China, cf. 特級上將授任條例
  2. The Napoleonic Marshal of France Jean Baptiste Bernadotte, Prince of Ponte Corvo, was elected Crown Prince of Sweden by the Riksdag of the Estates and King Charles XIII in 1810. Given his exalted French military rank, the rank of generalissimus was likely granted him in order to give him precedence over "mere" Swedish field marshals. Once he became King of Sweden and Norway in 1818, the generalissimus rank became superfluous.

อ้างอิง

  1. Webster's Third New International Dictionary., French Larousse Étymologique.
  2. John McGroarty :The Gray Man of Christ: Generalissimo Foch (1919) Los Angeles, Walter A Abbott
  3. Linda Pomerantz-Zhang (1992). Wu Tingfang (1842–1922): reform and modernization in modern Chinese history. Hong Kong University Press. p. 255. ISBN 962209287X. สืบค้นเมื่อ 2010-10-31.
  4. Jay Taylor:The Generalisimo:Chiang Kai-shek and the struggle for modern China (2009) Harvard Press
  5. Comunica Miguel Hidalgo su proclamaci n como General simo de Am rica เก็บถาวร 2015-09-23 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน. Documentos Historicos de Mexico, 24 Oct 1810.
  6. Cover เก็บถาวร 2012-09-15 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน, TIME magazine, 18 Oct 1943
  7. Emilio Aguinaldo. Biography.com. Retrieved 16 August 2015.
  8. Bletch Chirguh, La Question Kurde: ses origines et ses causes, Le Caire, Impimerie Paul Barbey, 1930, front cover, IHSAN NOURI PACHA Généralissime des forces nationales Kurdes (ฝรั่งเศส)
  9. Ancienneté och Rang-Rulla öfver Krigsmagten år 1813 (สวีเดน)
  10. "Menschikow und Stalin waren die einzigen Heerführer der russischen Geschichte, die sich „Generalissimus" nennen ließen." [Menshikov and Stalin were the only military leaders in Russian history who declared themselves "generalissimus".] Jena, Detlev (1996): Die russischen Zaren in Lebensbildern, Graz, p. 520.
  11. Joseph Stalin was appointed Generalissimus of the Soviet Union. See: Ivan Aleksandrovich Venediktov, Selskokhozyaystvennaya yentsiklopediya, Vol. 4, Gos. izd-vo selkhoz, 1956, p. 584. (รัสเซีย)
  12. The Daily Yomuiri, 29 September 2010, Kim Jong Un spotlighted / 'Heir apparent' promoted to general, makes DPRK media debut
  13. The Australian, 15 February 2012, Late Kim Jong-il awarded highest honour by North
  14. Stanley Walker : Generalissimo Rafael L. Trujillo (1955) Caribbean Library
  15. 15.0 15.1 A short history of Germany. Ernest Flagg Henderson, 1908
  16. 16.0 16.1 Tilly und Wallenstein – ein Vergleich zweier Heerführer. Harry Horstmann, 2010. (เยอรมัน)
  17. Public Law 94-479 of January 19, 1976 to provide for the appointment of George Washington to the grade of General of the Armies of the United States
  18. Public Law 66-45 of September 3, 1919 to revive the office of General of the Armies
Kembali kehalaman sebelumnya