Share to:

 

โคะ


ฮิรางานะ

คาตากานะ
การถอดอักษร ko
+ดากูเต็ง go
+ฮันดากูเต็ง (ngo)
มังโยงานะ
ของฮิรางานะ
มังโยงานะ
ของคาตากานะ
รหัสเรียกขาน 子供のコ
(โคะโดะโมะ โนะ โคะ)
รหัสมอร์ส ----
อักษรเบรลล์ ⠪
ยูนิโคด U+3053, U+30B3
คะนะ
อึง วะ ระ ยะ มะ ฮะ นะ ทะ ซะ คะ อะ
วิ ริ มิ ฮิ นิ ชิ ชิ คิ อิ
รุ ยุ มุ ฟุ นุ สึ ซุ คุ อุ
เวะ เระ เมะ เฮะ เนะ เทะ เซะ เคะ เอะ
โวะ โระ โยะ โมะ โฮะ โนะ โทะ โซะ โคะ โอะ
เคะตัวเล็ก · สึตัวเล็ก · โยะริ · โคะโตะ
ดะกุเต็ง · ฮันดะกุเต็ง · โชอมปุ

โคะ เป็นคะนะของภาษาญี่ปุ่นตัวหนึ่ง ฮิระงะนะเขียนว่า こ มีที่มาจากตัวเขียนหวัดของมันโยงะนะ 己 และคะตะกะนะเขียนว่า コ มีที่มาจากส่วนบนของมันโยงะนะ 己 ออกเสียงว่า [ko] เมื่อเติมดะกุเต็งจะออกเสียงว่า [go] ในพยางค์แรก และแปรเสียงอยู่ระหว่าง [ŋo] กับ [ɣo] ในพยางค์อื่น

こ เป็นอักษรลำดับที่ 10 อยู่ระหว่าง け (เคะ) กับ さ (ซะ) ในการจัดลำดับอักษรปัจจุบัน ส่วนการจัดลำดับแบบอิโระฮะ こ เป็นอักษรลำดับที่ 33 อยู่ระหว่าง ふ (ฟุ) กับ え (เอะ)

รูปแบบ โรมะจิ ฮิระงะนะ คะตะกะนะ เสียงอ่าน รูปแบบ โรมะจิ ฮิระงะนะ คะตะกะนะ เสียงอ่าน รูปแบบ โรมะจิ ฮิระงะนะ คะตะกะนะ เสียงอ่าน
ธรรมดา ko โคะ-โกะ ธรรมดา
+ดะกุเต็ง
go โกะ-โงะ ธรรมดา
+ฮันดะกุเต็ง
(ngo) こ゚ コ゚ โงะ
kou
こう, こぅ
こお, こぉ
こー, こ~
コウ, コゥ
コオ, コォ
コー, コ~
โค-โก gou
ごう, ごぅ
ごお, ごぉ
ごー, ご~
ゴウ, ゴゥ
ゴオ, ゴォ
ゴー, ゴ~
โก-โง (ngou)
(ngō)
こ゚う, こ゚ぅ
こ゚お, こ゚ぉ
こ゚ー, こ゚~
コ゚ウ, コ゚ゥ
コ゚オ, コ゚ォ
コ゚ー, コ゚~
โง

อักษรแบบอื่น

อักษรแบบอื่นของโคะคือคะนะขนาดเล็ก ใช้กำกับตัวเลขหรือคันจิตัวเลขเพื่อแสดงหน่วยนับ (สามารถใช้แทน ゖ, ヶ ที่ออกเสียงเป็น こ) พบการใช้งานในสมัยเอะโดะ ปัจจุบันไม่มีที่ใช้และไม่มีรหัสในคอมพิวเตอร์

ข้อความภาษาญี่ปุ่นทั่วไปไม่เติมฮันดะกุเต็งบนโคะ แต่อาจนักภาษาศาสตร์อาจเติมฮันดะกุเต็งบนโคะ こ゚, コ゚ เพื่อแสดงเสียง [ŋo]

อักขระ ยูนิโคด จิส เอกซ์ 0213[1] ความหมาย
U+3053 1-4-19 ฮิระงะนะ โคะ
U+3054 1-4-20 ฮิระงะนะ โกะ
こ゚ U+3053 U+309A 1-4-91 ฮิระงะนะ โงะ
U+30B3 1-5-19 คะตะกะนะ โคะ
U+30B4 1-5-20 คะตะกะนะ โกะ
コ゚ U+30B3 U+309A 1-5-91 คะตะกะนะ โงะ
U+32D9 1-12-68 คะตะกะนะ โคะ ในวงกลม
U+FF7A ไม่มี คะตะกะนะ โคะ ครึ่งความกว้าง

ลำดับขีด

ลำดับขีดในการเขียน こ
ลำดับขีดในการเขียน こ
ลำดับขีดในการเขียน コ
ลำดับขีดในการเขียน コ

ฮิระงะนะ こ มีลำดับขีด 2 ขีดดังนี้

  1. ขีดเส้นนอนในตำแหน่งบน อาจตวัดลงที่ปลายหรือไม่ก็ได้
  2. ขีดเส้นโค้งในตำแหน่งกึ่งล่าง มาทางซ้ายเล็กน้อยแล้วลากเส้นนอนไปทางขวา

คะตะกะนะ コ มีลำดับขีด 2 ขีดดังนี้

  1. ขีดเส้นนอนในตำแหน่งบน แล้วหักลงล่าง
  2. ขีดเส้นนอนในตำแหน่งล่างไปบรรจบกับปลายเส้นแรก

คันจิ

ตัวอย่างคันจิที่อ่านว่าโคะ และขึ้นต้นด้วยโคะ มีดังนี้

乎 個 古 呼 固 姑 孤 己 庫 弧 戸 故 枯 湖 狐 糊 袴 股 胡 菰
虎 誇 跨 鈷 雇 顧 鼓 五 互 伍 午 呉 吾 娯 後 御 悟 梧 檎 瑚
碁 語 誤 護 醐 乞 鯉 交 佼 侯 候 倖 光 公 功 効 勾 厚 口 向
后 喉 坑 垢 好 孔 孝 宏 工 巧 巷 幸 広 庚 康 弘 恒 慌 抗 拘
控 攻 昂 晃 更 杭 校 梗 構 江 洪 浩 港 溝 甲 皇 硬 稿 糠 紅

อ้างอิง

ดูเพิ่ม

Kembali kehalaman sebelumnya