การระบาดทั่วของไวรัสโคโรนาในประเทศเวียดนาม เป็นส่วนหนึ่งของการระบาดทั่วโลกที่ยังดำเนินอยู่ของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (โควิด-19) ที่เกิดจากไวรัสโคโรนาสายพันธุ์ใหม่ (SARS-CoV-2) ข้อมูลเมื่อ 29 เมษายน ค.ศ. 2021 (2021 -04-29)[update] กระทรวงอนามัยประกาศว่ามีผู้ติดเชื้อยืนยัน 2,910 ราย หายแล้ว 2,516 ราย และเสียชีวิต 35 ราย ซึ่งได้ปฏิบัติการการตรวจแล้วเกือบ 2.9 ล้านคน[3] ในเดือนเมษายนปีเดียวกัน จังหวัดหายเซืองเป็นจังหวัดที่ได้รับผลกระทบมากที่สุดโดยมีผู้ป่วยที่ได้รับการยืนยัน 762 รายและไม่มีผู้เสียชีวิต[1]
ณ วันที่ 31 ธันวาคม ค.ศ. 2019 ประเทศจีนได้ประกาศพบกลุ่มผู้ติดเชื้อปอดบวมที่อู่ฮั่น ตัวไวรัสเข้ามายังประเทศเวียดนามในวันที่ 23 มกราคม ค.ศ. 2020 ผ่านชาวจีนสองคนในนครโฮจิมินห์ที่มีผลตรวจเป็นบวก[4][5] เคสช่วงแรกมาจากต่างประเทศ จนกระทั่งมีการแพร่เชื้อในประเทศในเดือนกุมภาพันธ์ถึงมีนาคม โดยพบกลุ่มผู้ติดเชื้อในหวิญฟุก[6] ต่อมาพบผู้เสียชีวิตรายแรกในฮานอย, นครโฮจิมินห์, ดานัง และจังหวัดหายเซืองในวันที่ 31 กรกฎาคม ค.ศ. 2020[7]
เวียดนามระงับการเข้ามาของชาวต่างชาติตั้งแต่วันที่ 22 มีนาคม พ.ศ. 2563 จนกว่าจะมีประกาศเพิ่มเติมเพื่อจำกัดการแพร่กระจายของโควิด-19 มาตรการนี้จะไม่ใช้กับนักการทูต, เจ้าหน้าที่, นักลงทุนต่างชาติ, ผู้เชี่ยวชาญ และแรงงานที่มีทักษะ ในช่วงตรุษญวน ค.ศ. 2021 ทุกคนที่เข้าไปในประเทศเวียดนามจะต้องกักตัวเองอย่างน้อย 14 วันที่สถานกักกันของเจ้าหน้าที่ โดยยกเว้นเพียงนักการทูตพิเศษของกระทรวงการต่างประเทศ[8][9][10]
เวียดนามได้รับการอ้างถึงจากสื่อระดับโลกว่าเป็นหนึ่งในโครงการควบคุมการแพร่ระบาดของโรคที่ดีที่สุดในโลก[11][12][13] พร้อมกับเกาหลีใต้, สิงคโปร์ และไต้หวัน[14][15] หลายคนชื่นชมการตอบสนองของเวียดนามเมื่อเปรียบเทียบกับความสำเร็จในปี พ.ศ. 2546 เมื่อเวียดนามกลายเป็นประเทศแรกที่ทำให้หมดโรคซาร์ส[14] แม้จะมีความสามารถทางเศรษฐกิจและเทคโนโลยีที่ด้อยกว่า แต่การตอบสนองของประเทศต่อการระบาดของโรคก็ได้รับเสียงไชโยโห่ร้องสำหรับความฉับไว, ประสิทธิภาพ และความโปร่งใส ซึ่งตรงกันข้ามกับข้อกล่าวหาที่ปกปิดในประเทศจีน และการเตรียมการที่ไม่ดีในสหรัฐรวมถึงประเทศในยุโรป[14][16][17][18]
ถึงแม้ว่าโรคระบาดทั่วจะทำลายเศรษฐกิจของประเทศอย่างหนัก[19] อัตราการเติบโตของผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศในประเทศยังคงเป็นหนึ่งในประเทศแถบเอเชียแปซิฟิกที่มีค่าสูงสุด[20] โดยอยู่ที่ร้อยละ 2.91 ใน ค.ศ. 2020 และประมาณการว่าจะเติบโตเป็นร้อยละ 6.6 ภายใน ค.ศ. 2021[21][22]
การฉีดวัคซีนเริ่มขึ้นในวันที่ 8 มีนาคม ค.ศ. 2021[23] จนถึงวันที่ 29 เมษายน ค.ศ. 2021 มีผู้ได้รับวัคซีนอย่างน้อยหนึ่งอันรวม 506,435 ราย[24] จนถึงตอนนี้ ทางกระทรวงอนามัยได้อนุมัติให้ใช้วัคซีนโควิด-19 ของแอสตราเซเนกาและสปุตนิก วีในช่วงฉุกเฉิน มีการคาดการณ์ว่าจะมีวัคซีนรวม 150 ล้านโดสให้ใช้ในช่วงปลาย ค.ศ. 2021[25]
ภูมิหลัง
เมื่อวันที่ 12 มกราคม พ.ศ. 2563 องค์การอนามัยโลก (WHO) ยืนยันว่าไวรัสโคโรนาตัวใหม่เป็นสาเหตุของการเจ็บป่วยทางเดินหายใจในกลุ่มคนในเมืองอู่ฮั่น มณฑลหูเป่ย์ ประเทศจีน ซึ่งได้รายงานต่อองค์การอนามัยโลกในวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2562[26][27]
อัตราการตายของผู้ป่วยโควิด-19 นั้นต่ำกว่าโรคซาร์สปี พ.ศ. 2546 มาก[28][29] แต่การแพร่เชื้อน่าสังเกตมากกว่า ด้วยจำนวนผู้เสียชีวิตที่มีความหมาย[28][30]
อ้างอิง
- ↑ 1.0 1.1 1.2 1.3 1.4 "TRANG TIN VỀ DỊCH BỆNH VIÊM ĐƯỜNG HÔ HẤP CẤP COVID-19" (ภาษาเวียดนาม). BỘ Y TẾ (Ministry of Health). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2020-02-13. สืบค้นเมื่อ 4 August 2021.
- ↑ Lê, Nga (12 May 2021). "Bệnh nhân tử vong do suy thận sau ba lần âm tính nCoV" [Man dies of kidney failure after having thrice tested negative for Covid-19]. VnExpress (ภาษาเวียดนาม).
- ↑ "COVID-19 in Viet Nam Situation Report 38". WHO. 20 April 2021. สืบค้นเมื่อ 22 April 2021.
- ↑ Coleman, Justine (23 January 2020). "Vietnam reports first coronavirus cases". The Hill. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 18 February 2020. สืบค้นเมื่อ 18 February 2020.
- ↑ Lê, Phương (2020-01-23). "Hai người viêm phổi Vũ Hán cách ly tại Bệnh viện Chợ Rẫy". VnExpress.
{{cite news}}
: CS1 maint: url-status (ลิงก์)
- ↑ Thúy Quỳnh (2020-02-15). "Tại sao một bệnh nhân Vĩnh Phúc lây virus corona 6 người?". VnExpress.
{{cite news}}
: CS1 maint: url-status (ลิงก์)
- ↑ Lê Hiệp; Liên Châu (31 July 2020). "Việt Nam có ca Covid-19 đầu tiên tử vong, là bệnh nhân 428". Thanh Niên.
{{cite news}}
: CS1 maint: url-status (ลิงก์)
- ↑ Nguyen Quy (20 January 2021). "Vietnam mandates 14-day quarantine for all foreign experts, flight crew". VnExpress. สืบค้นเมื่อ 21 January 2021.
- ↑ Lan Anh (20 January 2021). "Ngưng cách ly tại nhà, luôn chuẩn bị cho tình huống phát hiện COVID-19 tại cộng đồng" (ภาษาเวียดนาม). Tuổi Trẻ. สืบค้นเมื่อ 21 January 2021.
- ↑ THIÊN LAM (2021-01-20). "Phát động toàn dân phát hiện người nhập cảnh trái phép trở về không cách ly". Nhân Dân (ภาษาเวียดนาม).
{{cite news}}
: CS1 maint: url-status (ลิงก์)
- ↑ Reed, John; Pham, Hai Chung (2020-03-24). "Vietnam's coronavirus offensive wins praise for low-cost model". Financial Times.
{{cite news}}
: CS1 maint: url-status (ลิงก์)
- ↑ Walden, Max (13 May 2020). "How has Vietnam, a developing nation in South-East Asia, done so well to combat coronavirus?". ABC News. สืบค้นเมื่อ 30 July 2020.
- ↑ "Covid Performance Index". Lowy Institute. สืบค้นเมื่อ 2021-03-05.
- ↑ 14.0 14.1 14.2 Humphrey, Chris; Pham, Bac (14 April 2020). "Vietnam's response to coronavirus crisis earns praise from WHO". 7News. สืบค้นเมื่อ 17 April 2020.
{{cite news}}
: CS1 maint: url-status (ลิงก์)
- ↑ Barron, Laignee (13 March 2020). "What We Can Learn From Singapore, Taiwan and Hong Kong About Handling Coronavirus". Time.
{{cite news}}
: CS1 maint: url-status (ลิงก์)
- ↑ Le, Trien Vinh; Nguyen, Huy Quynh (17 April 2020). "How Vietnam Learned From China's Coronavirus Mistakes". The Diplomat. สืบค้นเมื่อ 17 April 2020.
{{cite news}}
: CS1 maint: url-status (ลิงก์)
- ↑ "[Op-ed] Why Vietnam has been the world's number 1 country in dealing with coronavirus". 4 March 2020.
- ↑ Sullivan, Michael (16 April 2020). "In Vietnam, There Have Been Fewer Than 300 COVID-19 Cases And No Deaths. Here's Why". National Public Radio. สืบค้นเมื่อ 17 April 2020.
{{cite news}}
: CS1 maint: url-status (ลิงก์)
- ↑ Dat Nguyen; Hoang Phuong (17 June 2020). "With jobs lost to Covid-19, Vietnamese struggle to make ends meet". VnExpress. สืบค้นเมื่อ 23 June 2020.
- ↑ "Vietnam growth among Asia's highest despite Covid-19 slump: ADB". VnExpress. 4 March 2020. สืบค้นเมื่อ 28 June 2020.
- ↑ "Vietnam's economy is set to grow 6.6% in 2021: WB". Nhân Dân. 27 March 2021. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2021-05-05. สืบค้นเมื่อ 29 March 2021.
- ↑ "VIET NAM ECONOMY IN 2020 THE GROWTH OF A YEAR WITH FULL OF BRAVERY". General Statistics Office of Vietnam. 2021-01-14.
{{cite web}}
: CS1 maint: url-status (ลิงก์)
- ↑ "Người Việt Nam đầu tiên tiêm vaccine COVID-19: Không có gì phải lo sợ!" (ภาษาเวียดนาม). VTV. 8 March 2021. สืบค้นเมื่อ 8 March 2021.
- ↑ "Thêm 3 ca lây nhiễm từ bệnh nhân Covid-19 ở Hà Nam". VnExpress. 30 April 2021.
- ↑ "Vietnam records two more severe reactions after COVID-19 vaccination". Tuổi Trẻ. 2021-03-15.
- ↑ Elsevier. "Novel Coronavirus Information Center". Elsevier Connect. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 30 January 2020. สืบค้นเมื่อ 15 March 2020.
- ↑ Reynolds, Matt (4 March 2020). "What is a coronavirus and how close is it to becoming a pandemic?". Wired UK. ISSN 1357-0978. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 5 March 2020. สืบค้นเมื่อ 5 March 2020.
- ↑ 28.0 28.1 "Crunching the numbers for coronavirus". Imperial News. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 19 March 2020. สืบค้นเมื่อ 15 March 2020.
- ↑ "High consequence infectious diseases (HCID); Guidance and information about high consequence infectious diseases and their management in England". GOV.UK (ภาษาอังกฤษ). เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 3 March 2020. สืบค้นเมื่อ 17 March 2020.
- ↑ "World Federation Of Societies of Anaesthesiologists – Coronavirus". www.wfsahq.org. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 12 March 2020. สืบค้นเมื่อ 15 March 2020.
แหล่งข้อมูลอื่น
|
---|
|
|
|
|
สถาบัน |
---|
ศูนย์ควบคุม และป้องกันโรค | |
---|
โรงพยาบาล และสิ่งเกี่ยวข้อง | |
---|
องค์กร | |
---|
|
|
|
บุคคล |
---|
แพทย์ผู้นำ การปฏิบัติ | |
---|
นักวิจัย | |
---|
เจ้าหน้าที่ | จีน | |
---|
อิตาลี | |
---|
สหราชอาณาจักร | |
---|
สหรัฐ | |
---|
|
---|
อื่น ๆ | |
---|
ผู้เสียชีวิต | |
---|
|
|
ข้อมูล (แม่แบบ) |
---|
ทั่วโลก | |
---|
แอฟริกา | |
---|
เอเชีย | |
---|
ยุโรป (แผนภูมิ) | |
---|
อเมริกาเหนือ | |
---|
โอเชียเนีย | |
---|
อเมริกาใต้ | |
---|
|
|
|
อ้างอิงผิดพลาด: มีป้ายระบุ <ref>
สำหรับกลุ่มชื่อ "lower-alpha" แต่ไม่พบป้ายระบุ <references group="lower-alpha"/>
ที่สอดคล้องกัน