การระบาดทั่วของโควิด-19 ในทวีปยุโรป
เมื่อวันที่ 13 มีนาคม ค.ศ. 2020 องค์การอนามัยโลก ได้ประกาศให้ทวีปยุโรปเป็นศูนย์กลางของสถานการณ์การระบาดทั่วของโควิด-19 โดยมีผู้ติดเชื้อในประเทศต่าง ๆ เพิ่มขึ้น 2 เท่าในระยะเวลาเพียง 3 ถึง 4 วัน และยังปรากฏว่าในบางประเทศมีผู้ป่วยเพิ่มขึ้น 2 เท่าในทุก ๆ 2 วัน[ 2] โดยใน วันที่ 22 ธันวาคม ค.ศ. 2020 ทวีปยุโรปเป็นทวีปที่มีผู้เสียชีวิตมากที่สุดเป็นอันดับหนึ่งของโลก นอกจากนั้นประเทศโมนาโก ยังเป็นประเทศ ที่มีพื้นที่น้อยที่สุดในโลก ที่พบผู้เสียชีวิต
การแพร่ระบาดเกิดขึ้นในทุกประเทศในทวีปยุโรป ตั้งแต่วันที่ 17 มีนาคม ค.ศ. 2020 เมื่อมีการพบผู้ติดเชื้อที่ ประเทศมอนเตเนโกร เป็นประเทศสุดท้าย และในปัจจุบันพบผู้เสียชีวิตอย่างน้อย 1 ราย จากทุกประเทศและดินแดน โดยในวันที่ 3 มกราคม พ.ศ. 2564 ที่ หมู่เกาะแฟโร มีผู้เสียเสียชีวิต 1 รายเป็นพื้นที่ล่าสุด ปัจจุบัน นครรัฐวาติกัน มีผู้ติดเชื้อ 27 ราย ไม่มีผู้เสียชีวิต แซ็งปีแยร์และมีเกอลง ซึ่งเป็นดินแดนของประเทศฝรั่งเศสในมหาสมุทรแอตแลนติก พบผู้ติดเชื้อ 28 ราย แต่ไม่มีผู้เสียชีวิต หมู่เกาะโอลันด์ ติดเชื้อ 433 ราย ไม่พบผู้เสียชีวิต [ 3] ส่วนพื้นที่ที่ยังไม่พบผู้ติดเชื้อ ได้แก่ สฟาลบาร์และยานไมเอน ซึ่งเป็นเกาะของ ประเทศนอร์เวย์ ใน มหาสมุทรอาร์กติก และ ซีแลนด์
ทำให้เมื่อวันที่ 18 มีนาคม มีประชาชนในยุโรปมากกว่า 250 ล้านคนถูกห้ามออกนอกพื้นที่เพื่อป้องกันการแพร่ระบาด[ 4]
การประเมินความเสี่ยงในสหภาพยุโรป เขตเศรษฐกิจยุโรป และสหราชอาณาจักร
ในวันที่ 19 เมษายน พ.ศ. 2564 เวลามาตรฐานกรีนิช 01.40 น. จำนวนผู้เสียชีวิตในทวีปยุโรป คิดเป็น 32.16 % ของจำนวนผู้เสียชีวิตทั่วโลก ซึ่งหมายถึงจำนวนคนเสียชีวิตเกือบ 1 ส่วน 3 ของทั่วโลกอยู่ที่ทวีปยุโรป
ปัจจุบันมีรายงานผู้เสียชีวิตจากประเทศในสหภาพยุโรป เขตเศรษฐกิจยุโรป และสหราชอาณาจักร มากกว่า 2 ล้านคน[ 5] ในวันที่ 26 กรกฎาคม ค.ศ. 2023 ทวีปยุโรปมีประเทศที่มีผู้เสียชีวิตมากกว่า 3,000 ราย ถึง 35 ประเทศ (หรือ 36 ประเทศ หากรวมคอซอวอ ) ในจำนวนนี้มีประเทศที่มีผู้เสียชีวิตมากกว่า 100000 ราย 25 ประเทศ และมี 19 ประเทศในทวีปยุโรปที่มีผู้เสียชีวิตมากกว่า 20000 ราย
ในขณะที่ การระบาดทั่วโลก มี 35 ประเทศ ที่มีผู้เสียชีวิตมากกว่า 30000 ราย จึงเท่ากับว่า ทวีปยุโรปมีจำนวนประเทศที่มีอัตราผู้เสียชีวิตมากกว่า 30000 ราย มากถึงอัตราร้อยละ 40 จากทั่วโลก
ในวันที่ 26 มกราคม พ.ศ. 2567 จำนวนผู้เสียชีวิตในยุโรปคิดเป็น 30.057 % จากทั่วโลกซึ่งนับเป็นทวีปที่มีผู้เสียชีวิตมากที่สุดของโลก เสียชีวิตทั้งทวีปยุโรปรวม 2,096,045 ราย
ความเสี่ยงที่เกี่ยวข้องกับ COVID-19 ต่อไปนี้ได้รับการประเมินโดยศูนย์ควบคุมและป้องกันโรคแห่งยุโรป (ECDC)[ 6]
ความเสี่ยง
ระดับ
ความเสี่ยงของโรคที่รุนแรงอันเกี่ยวข้องกับการติดเชื้อ COVID-19 สำหรับคนในสหภาพยุโรป / เขตเศรษฐกิจยุโรป และสหราชอาณาจักร : ประชากรทั่วไป
ปานกลาง
ความเสี่ยงของการเกิดโรครุนแรงอันเกี่ยวข้องกับการติดเชื้อ COVID-19 สำหรับคนในสหภาพยุโรป / เขตเศรษฐกิจยุโรป และสหราชอาณาจักร : ผู้สูงอายุและบุคคลที่มีโรคประจำตัวเรื้อรัง
สูง
ความเสี่ยงของโรคที่รุนแรงน้อยลงและผลกระทบต่อกิจกรรมทางสังคมและงานที่เกี่ยวข้อง
สูง
ความเสี่ยงจากการแพร่เชื้อ COVID-19 ของชุมชนย่อย ใน สหภาพยุโรป / เขตเศรษฐกิจยุโรป และสหราชอาณาจักร
สูงมาก
ความเสี่ยงจากการแพร่เชื้อ COVID-19 ของชุมชนระดับชาติใน สหภาพยุโรป / เขตเศรษฐกิจยุโรป และสหราชอาณาจักรในอีกไม่กี่สัปดาห์ข้างหน้า
สูง
ความเสี่ยงเรื่องอัตราการรองรับผู้ป่วยของสถาบันสุขภาพเกินกว่าที่กำหนดใน สหภาพยุโรป / เขตเศรษฐกิจยุโรป และสหราชอาณาจักรในอีกไม่กี่สัปดาห์ข้างหน้า
สูง
ความเสี่ยงที่เกี่ยวข้องกับการแพร่กระจายของ COVID-19 ภายในสถาบันสุขภาพและสังคมที่ประชากรมีความเสี่ยงสูงหรือไวต่อการเกิดโรค
สูง
สถิติผู้ติดเชื้อและผู้เสียชีวิตเรียงตามประเทศและดินแดน
จำนวนผู้เสียชีวิตต่อประชากร 1 ล้านคน[ 7]
ตารางสรุปกรณีผู้ป่วยยืนยันในยุโรป (ณ วันที่ 30 ตุลาคม 2564)[ 8]
ประเทศ/ดินแดน
จำนวนผู้ติดเชื้อ
จำนวนผู้เสียชีวิต
รักษาหาย
อ้างอิง
สหราชอาณาจักร
9,806,034
143,866
8,050,466
[ 9]
รัสเซีย
9,331,158
264,095
8,024,930
[ 10]
ฝรั่งเศส
7,153,188
117,649
6,934,871
[ 11] [ 12]
สเปน
5,011,148
87,368
4,864,318
[ 13]
อิตาลี
4,762,563
132,037
4,551,882
[ 14]
เยอรมณี
4,577,488
96,176
4,257,800
[ 15]
โปแลนด์
3,008,294
76,875
2,697,544
[ 16]
ยูเครน
2,878,674
66,852
2,421,495
[ 17]
เนเธอร์แลนด์
2,115,938
18,384
1,982,963
[ 18]
เช็กเกีย
1,752,086
30,705
1,671,709
[ 19]
โรมาเนีย
1,628,501
46,911
1,382,322
[ 20]
เบลเยี่ยม
1,360,650
25,994
1,212,412
[ 21]
สวีเดน
1,171,512
14,991
1,137,851
[ 22] [ 23]
เซอร์เบีย
1,131,819
9,826
995,407
[ 24]
โปรตุเกส
1,088,977
18,153
1,039,284
[ 25]
สวิตเซอร์แลนด์
872,556
11,247
828,031
[ 26] [ 27]
ฮังการี
863,419
30,729
797,910
[ 28]
ออสเตรีย
819,195
11,333
768,019
[ 29]
กรีซ
734,778
15,856
678,085
[ 30]
บัลแกเรีย
598,199
23,872
477,530
[ 31]
เบลารุส
596,191
4,596
569,188
[ 32]
สโลวาเกีย
474,595
13,000
420,709
[ 33]
โครเอเชีย
462,482
9,168
429,563
[ 34]
ไอร์แลนด์
440,665
5,436
383,229
[ 35] [ 36]
ลิทัวเนีย
403,051
5,800
357,029
[ 37]
เดนมาร์ก
384,580
2,709
364,764
[ 38]
มอลโดวา
335,860
7,665
313,316
[ 39]
สโลวีเนีย
331,206
4,730
301,341
[ 40]
บอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา
252,758
11,495
192,218
ลัตเวีย
214,460
3,198
175,441
[ 41]
นอร์เวย์
205,855
900
88,952
[ 42] [ 43]
นอร์ท มาซิโดเนีย
201,708
7,108
188,024
[ 44]
เอสโตเนีย
190,201
1,502
165,138
[ 45] [ 46]
แอลเบเนีย
184,340
2,909
173,870
คอซอวอ
160,653
2,966
N/A
[ 47]
ฟินแลนด์
157,531
1,158
46,000
[ 48]
มอนเตเนโกร
143,322
2,095
136,766
[ 49]
ลักเซมเบิร์ก
81,683
843
78,859
[ 50]
มอลตา
37,618
461
36,560
อันดอร์รา
15,516
130
15,242
ไอซ์แลนด์
13,492
33
12,586
[ 51]
เจอร์ซีย์
10,953
80
10,382
[ 52]
ไอล์ออฟแมน
9,587
57
8,824
ยิบรอลตาร์
5,959
98
5,668
ซาน มารีโน
5,509
92
5,383
[ 53]
ลิกเตนสไตน์
3,557
61
3,452
[ 54]
โมนาโก
3,414
36
3,350
เกิร์นซีย์
2,117
23
1,908
[ 55]
หมู่เกาะแฟโร
2,011
2
1,375
นครรัฐวาติกัน
27
0
27
[ 56]
รวม
64,111,015
1,296,952
57,781,745
การติดเชื้อในประเทศต่าง ๆ ของทวีปยุโรป
แอลเบเนีย
การแพร่ระบาดของไวรัสโคโรนา 2019 ในสาธารณรัฐแอลเบเนีย ถูกรายงานครั้งแรกเมื่อวันที่ 8 มีนาคม 2020 ที่กรุงติรานา โดยพบผู้ป่วยและเด็กที่เดินทางกลับมาจากเมืองฟลอเรนซ์ ประเทศอิตาลี มีผลการตรวจหาเชื้อไวรัสเป็นบวก[ 57]
ณ วันที่ 30 ตุลาคม ค.ศ. 2021 แอลเบเนีย มีผู้ป่วยที่ได้รับการยืนยันว่าติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 จำนวน 184,340 คน รักษาหาย 173,870 คน และมีผู้เสียชีวิต 2,909 คน
อันดอร์รา
การแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ที่ได้รับการยืนยันในราชรัฐอันดอร์รา ถูกรายงานเป็นครั้งแรกเมื่อวันที่ 2 มีนาคม 2020 เมื่อชายวัย 20 ปี เดินทางกลับมาจากเมืองมิลาน ประเทศอิตาลี และด้วยจำนวนประชากรทั้งหมดของประเทศที่มีเพียง 77,405 คน (ค.ศ. 2021) ทำให้เมื่อวันที่ 18 กันยายน 2021 อัตราการติดเชื้อภายในประเทศเท่ากับ 1 รายต่อประชากร 5 คนและอัตราการเสียชีวิตเท่ากับ 1 รายต่อประชากร 595 คน
ออสเตรีย
การแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ในสาธารณรัฐออสเตรีย มีการรายงานว่าพบผู้ติดเชื้อในประเทศเป็นครั้งแรกเมื่อวันที่ 8 กุมภาพันธ์ 2020 ในรัฐทีโรล [ 58] จากนั้นมีรายงานการระบาดของโรคจากผู้ป่วยที่เป็นคู่ชายหญิงอายุ 24 ปี คู่หนึ่ง ที่กำลังรักษาตัวที่โรงพยาบาลในอินส์บรุค โดยชายหญิงคู่ดังกล่าวเดินทางกลับมาจากแคว้นลอมบาร์เดีย ประเทศอิตาลี
เบลารุส
การแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ในสาธารณรัฐเบลารุส ได้รับการยืนยันว่ามีการแพร่ระบาดภายในประเทศเมื่อวันที่ 28 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 2020 โดยพบผู้ติดเชื้อคนแรกในกรุงมินสค์ จากนั้นได้มีการแพร่ระบาดอย่างรวดเร็วภายในประเทศ
โดยในเดือนพฤษภาคม 2020 เบลารุสพบผู้ติดเชื้อเพียงประมาน 17,500 คน จากนั้นได้เกิดการแพร่ระบาดในวงกว้างจนมีผู้ติดเชื้อเพิ่มมากขึ้นถึง 392,629 คน หรือ 22.5 เท่า ภายในระยะเวลา 1 ปี
เบลเยียม
การระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ( COVID-19 ) ได้รับการยืนยันว่าแพร่กระจายไปยังประเทศเบลเยียมเมื่อวันที่ 4 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2563 เมื่อกลุ่มชาวเบลเยียม 9 ที่เดินทางกลับมาจากเมืองอู่ฮั่นถูกส่งไปตรวจหาเชื้อไวรัสโคโรนาที่บรัสเซลส์ และมีผลการตรวจเชื้อเป็นบวก จากนั้นการแพร่ระบาดเกิดขึ้นอย่างรวดเร็วในเดือนมีนาคม - เมษายน 2563 โดยสิ้นเดือนมีนาคมได้มีการยืนยันว่ามีผู้ติดเชื้อในทุกมณฑลของประเทศ จากนั้นพบผู้ติดเชื้อเพิ่มขึ้นอย่างมากจนเบลเยียมได้กลายเป็น 1 ใน 12 ประเทศที่มีผู้ติดเชื้อไวรัสโคโรนามากที่สุดในทวีปยุโรปจนถึงปัจจุบัน
ณ วันที่ 30 ตุลาคม 2564 ทางการเบลเยียมรายงานยอดผู้ติดเชื้อ 1,360,650 ราย โดยมีผู้เสียชีวิตรวม 25,994 ราย อย่างไรก็ตามจำนวนของผู้ติดเชื้อที่แท้จริงมีแนวโน้มที่จะสูงกว่าจำนวนผู้ป่วยที่ได้รับการวินิจฉัยยืนยันเนื่องจากการตรวจหาเชื้อทางห้องปฏิบัติการ จำกัดเฉพาะบุคคลที่มีอาการรุนแรง โดยหลายคนที่มีอาการแสดงออกเล็กน้อยหรือไม่มีเลยจึงไม่ไปพบแพทย์ แม้ว่าพวกเขามีแนวโน้มที่จะแพร่เชื้อไวรัสก็ตาม
เบลเยียมเป็นหนึ่งในประเทศที่ได้รับผลกระทบร้ายแรงที่สุดในแง่ของจำนวนผู้เสียชีวิตต่อหัวของประชากรหนึ่งล้านคน โดยในเดือน ตุลาคม 2564 มีรายงานว่าพบผู้เสียชีวิตจากเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ในประเทศเบลเยียม 2,230 คนต่อประชากรหนึ่งล้านคน ซึ่งถือว่าเป็นอัตราการเสียชีวิตต่อประชากรหนึ่งล้านคนที่สูงที่สุดในทวีปยุโรป เมื่อเทียบกับจำนวนผู้เสียชีวิต 1,868 คนต่อประชากรหนึ่งล้านคนในประเทศสเปน, 2,054 คนต่อประชากรหนึ่งล้านคนในสหราชอาณาจักร และ 1,797 คนต่อประชากรหนึ่งล้านคนในประเทศฝรั่งเศส
บอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา
การแพร่ระบาดของไวรัสโคโรนา 2019 ได้รับการยืนยันว่าแพร่กระจายไปยังประเทศบอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา ในวันที่ 5 มีนาคม 2020 เมื่อผู้ป่วยใน บันยา ลูกา ซึ่งเดินทางกลับมาจากประเทศอิตาลีมีผลตรวจเป็นบวก ต่อมาในวันเดียวกันมีรายงานว่าพบผู้ป่วยรายที่ 2 ซึ่งเป็นบุตรชายของผู้ป่วยรายแรก
เมื่อวันที่ 17 มีนาคม คณะรัฐมนตรีของบอสเนียและเฮอร์เซโกวีนาได้ประกาศภาวะฉุกเฉิน ทั่วประเทศ และในวันที่ 21 มีนาคม 2020 มีการประกาศว่าพบผู้เสียชีวิตจากไวรัสโคโรนา 2019 รายแรกในประเทศ ที่โรงพยาบาลในเมืองบีฮาช โดยเป็นผู้ป่วยหญิงสูงอายุที่เข้ารับการรักษาในโรงพยาบาลได้เพียง 2 วัน
ณ วันที่ 30 ตุลาคม 2021 ประเทศบอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา ได้ยืนยันผู้ป่วยในประเทศที่ติดเชื้อไวรัสโคโรนาจำนวน 252,758 คน โดยพบผู้ป่วยทั้งในสาธารณรัฐเซิร์ปสกา , สหพันธรัฐบอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา รวมถึงเขตปกครองตนเองเบิตช์โค และมีผู้เสียชีวิตมากกว่า 11,495 ราย
บัลแกเรีย
อ้างอิง
↑ https://www.worldometers.info/coronavirus/
↑ Max Roser, Hannah Ritchie and Esteban Ortiz-Ospina (2020) – "Coronavirus Disease (COVID-19) – Research and Statistics" เก็บถาวร 19 มีนาคม 2020 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน 13 March 2020, ourworldindata.org/coronavirus , accessed 14 March 2020
↑ https://www.alandstidningen.ax/
↑ Henley, Jon (18 March 2020). "More than 250m in lockdown in EU as Belgium and Germany adopt measures" . The Guardian . ISSN 0261-3077 . เก็บ จากแหล่งเดิมเมื่อ 1 April 2020. สืบค้นเมื่อ 4 April 2020 .
↑ Two million confirmed deaths from COVID-19 in the European Region
↑ "Daily risk assessment on COVID-19, 13 March 2020" . www.ecdc.europa.eu . 13 March 2020. เก็บ จากแหล่งเดิมเมื่อ 5 March 2020. สืบค้นเมื่อ 13 March 2020 .
↑ "Situation update for the EU/EEA and the UK" . www.ecdc.europa.eu . 13 March 2020. เก็บ จากแหล่งเดิมเมื่อ 4 March 2020. สืบค้นเมื่อ 15 March 2020 .
↑ News, BNO (18 February 2020). "Tracking SARS-CoV-2: Map, data and timeline" . BNO News . เก็บ จากแหล่งเดิมเมื่อ 7 February 2020. สืบค้นเมื่อ 4 March 2020 .
↑ "Coronavirus (COVID-19) in the UK" . GOV.UK. เก็บ จากแหล่งเดิมเมื่อ 2020-04-14. สืบค้นเมื่อ 14 April 2020 .
↑ "Оперативные данные. По состоянию на 23 апреля 10:35" . Стопкоронавирус.рф (ภาษารัสเซีย). 23 April 2020. สืบค้นเมื่อ 23 April 2020 .
↑ "Infection au nouveau Coronavirus (SARS-CoV-2), COVID-19, France et Monde" . www.santepubliquefrance.fr (ภาษาฝรั่งเศส). เก็บ จากแหล่งเดิมเมื่อ 21 March 2020. สืบค้นเมื่อ 11 March 2020 .
↑ "info coronavirus covid-19" . Gouvernment.fr (ภาษาฝรั่งเศส). สืบค้นเมื่อ 28 April 2020 .
↑ "Coronavirus – El mapa del coronavirus en España: más de 2.200 casos, casi la mitad en la Comunidad de Madrid" . RTVE.es (ภาษาสเปน). 11 March 2020. เก็บ จากแหล่งเดิมเมื่อ 11 March 2020. สืบค้นเมื่อ 11 March 2020 .
↑ Dipartimento della Protezione Civile. "COVID-19 Italia – Monitoraggio della situazione" (ภาษาอิตาลี). สืบค้นเมื่อ 14 April 2020 .
↑ "Alle bestätigten Coronavirus-Infektionen nach Landkreisen und Bundesländern" . Tagesspiegel (ภาษาเยอรมัน). เก็บ จากแหล่งเดิมเมื่อ 2 April 2020. สืบค้นเมื่อ 2 April 2020 .
↑ "(Tweet)" . Twitter . 27 April 2020. เก็บ จากแหล่งเดิมเมื่อ 2020-04-27. สืบค้นเมื่อ 27 April 2020 . [11 902/562 (total lab-confirmed/total deaths)]
↑ "МОЗ повідомляє про два нових підтверджених випадки коронавірусу в Україні" . เก็บ จากแหล่งเดิมเมื่อ 19 March 2020. สืบค้นเมื่อ 14 March 2020 .
↑ "Actuele informatie over het nieuwe coronavirus (COVID-19) | RIVM" . www.rivm.nl . เก็บ จากแหล่งเดิมเมื่อ 21 March 2020. สืบค้นเมื่อ 11 March 2020 .
↑ "Přehled situace v ČR: COVID-19" . mzcr.cz (ภาษาเช็ก). 27 March 2020. เก็บ จากแหล่งเดิมเมื่อ 22 March 2020. สืบค้นเมื่อ 27 March 2020 .
↑ "Informare COVID -19, Grupul de Comunicare Strategică, 27 Aprilie 2020, ora 13.00 – MINISTERUL AFACERILOR INTERNE" . www.mai.gov.ro . คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม เมื่อ 2020-05-08. สืบค้นเมื่อ 2020-04-27 .
↑ "Coronavirus COVID-19" . www.info-coronavirus.be (ภาษาฝรั่งเศส). เก็บ จากแหล่งเดิมเมื่อ 19 March 2020. สืบค้นเมื่อ 11 March 2020 .
↑ "The spread of the new coronavirus — Currently in Sweden" . SVT Datajournalistik . Sveriges Television . เก็บ จากแหล่งเดิมเมื่อ 20 March 2020. สืบค้นเมื่อ 2020-03-15 .
↑ "Totalt antal laboratoriebekräftade" (ภาษาสวีเดน). Experience.arcgis.com. เก็บ จากแหล่งเดิมเมื่อ 30 March 2020. สืบค้นเมื่อ 2020-03-31 .
↑ World Health Organization. "Coronavirus disease 2019 (COVID-19)Situation Report –63" (PDF) . www.who.int (ภาษาอังกฤษ). เก็บ (PDF) จากแหล่งเดิมเมื่อ 23 March 2020. สืบค้นเมื่อ 24 March 2020 .
↑ "Ponto de Situação Atual em Portugal" . Direcção Geral de Saúde . เก็บ จากแหล่งเดิมเมื่อ 17 March 2020. สืบค้นเมื่อ 2020-03-30 .
↑ "Current situation in Switzerland" . Federal Office of Public Health. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม เมื่อ 2020-03-20. สืบค้นเมื่อ 28 April 2020 .
↑ "Cas d'infection au Sars-CoV-2 en Suisse" . tdg.ch (ภาษาฝรั่งเศส). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2020-04-29. สืบค้นเมื่อ 10 April 2020 .{{cite web }}
: CS1 maint: bot: original URL status unknown (ลิงก์ )
↑ "Tájékoztató oldal a koronavírusról" (ภาษาฮังการี). Cabinet Office of the Prime Minister. 25 March 2020. เก็บ จากแหล่งเดิมเมื่อ 17 March 2020. สืบค้นเมื่อ 25 March 2020 .
↑ "Neuartiges Coronavirus (2019-nCov)" . www.sozialministerium.at . เก็บ จากแหล่งเดิมเมื่อ 22 March 2020. สืบค้นเมื่อ 11 March 2020 .
↑ "Έκθεση επιδημιολογικής επιτήρησης λοίμωξης από το νέο κορωνοϊό (COVID-19) (27/7/2020)" (PDF) . National Public Health Organization (Greece) (ภาษากรีก). 27 July 2020. สืบค้นเมื่อ 28 July 2020 .{{cite web }}
: CS1 maint: url-status (ลิงก์ )
↑ "Потвърдени случаи на коронавирус COVID-19 в България" [Confirmed COVID-19 cases in Bulgaria]. mh.government.bg (ภาษาบัลแกเรีย). 1 Apr 2020. เก็บ จากแหล่งเดิมเมื่อ 1 April 2020. สืบค้นเมื่อ 1 Apr 2020 .
↑ "Aktualitātes – Slimību profilakses un kontroles centrs" . spkc.gov.lv . เก็บ จากแหล่งเดิมเมื่อ 13 March 2020. สืบค้นเมื่อ 11 March 2020 .
↑ "Koronavírus | Info" . www.korona.gov.sk .
↑ "Official government website for accurate and verified information on Coronavirus" . Government of the Republic of Croatia. เก็บ จากแหล่งเดิมเมื่อ 26 March 2020. สืบค้นเมื่อ 27 March 2020 .
↑ "Latest updates on COVID-19 (Coronavirus)" . Department of Health (Ireland). 23 April 2020.
↑ "Covid-19: 49 more deaths, 631 additional cases" . RTÉ News and Current Affairs . 23 April 2020.
↑ Svarbiausia informacija apie koronavirusą (COVID-19) เก็บถาวร 2020-04-13 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน lrv.lt accessed 14 April 2020
↑ "Følg smittespredningen globalt, regionalt og lokalt" . Styrelsen for Patientsikkerhed (Ministry of Health ) (ภาษาเดนมาร์ก). 16 March 2020. เก็บ จากแหล่งเดิมเมื่อ 20 March 2020. สืบค้นเมื่อ 16 March 2020 .
↑ "COVID-19 în Republica Moldova: situaţia la zi" . gismoldova.maps.arcgis.com . สืบค้นเมื่อ 28 April 2020 .
↑ Koronavirus COVID-19 เก็บถาวร 13 มีนาคม 2020 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน www.gov.si , accessed 12 March 2020
↑ SPKC.gov.lvVerified account. "SPKC.gov.lv (@SPKCentrs)" . Twitter. เก็บ จากแหล่งเดิมเมื่อ 3 February 2020. สืบค้นเมื่อ 2020-04-13 .
↑ Nilsen, Av Sondre; Skjetne, Oda Leraan; Sfrintzeris, Yasmin; Røset, Hanna Haug; breaking-avdeling, Carina Hunshamar og VGs. "Live-oppdatering: coronavirusets spredning i Norge og verden" . VG Nett . เก็บ จากแหล่งเดิมเมื่อ 20 March 2020. สืบค้นเมื่อ 11 March 2020 .
↑ "Corona-viruset: Slik spres viruset i Norge og verden. Kart og statistikk" . Vg.no. เก็บ จากแหล่งเดิมเมื่อ 29 March 2020. สืบค้นเมื่อ 2020-03-30 .
↑ "Уште шест лица позитивни на коронавирус, вкупно 18" . Makfax (ภาษามาซิโดเนีย). 14 March 2020. เก็บ จากแหล่งเดิมเมื่อ 16 March 2020. สืบค้นเมื่อ 14 March 2020 .
↑ "Koroonaviirusesse on Eestis nakatunud 135 inimest" [135 people have already been diagnosed with coronavirus in Estonia] (ภาษาเอสโตเนีย). ERR. 15 March 2020. สืบค้นเมื่อ 15 March 2020 .
↑ "Koroonaviiruse haigus COVID-19 | Terviseamet" (ภาษาเอสโตเนีย). Terviseamet.ee. เก็บ จากแหล่งเดิมเมื่อ 30 March 2020. สืบค้นเมื่อ 2020-03-31 .
↑ https://covid19.who.int/region/euro/country/xk
↑ "Tilannekatsaus koronaviruksesta – Infektiotaudit ja rokotukset THL" . Terveyden ja hyvinvoinnin laitos (ภาษาฟินแลนด์). เก็บ จากแหล่งเดิมเมื่อ 2 April 2020. สืบค้นเมื่อ 3 April 2020 .
↑ "Virus korona COVID 19" (ภาษาMontenegrin). Government of Montenegro. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม เมื่อ 2020-06-25. สืบค้นเมื่อ 24 April 2020 .
↑ "Coronavirus: COVID-19" . เก็บ จากแหล่งเดิมเมื่อ 19 March 2020. สืบค้นเมื่อ 14 March 2020 .
↑ Ss (2 April 2020). "covid.is/data" . Mbl (ภาษาอังกฤษ). เก็บ จากแหล่งเดิมเมื่อ 3 April 2020. สืบค้นเมื่อ 3 April 2020 .
↑ Jersey, States of. "Coronavirus (COVID-19) cases" . www.gov.je (ภาษาอังกฤษ). สืบค้นเมื่อ 2020-04-16 .
↑ "Gruppo coordinamento emergenze – aggiornamento 27 marzo" . Istituto per la Sicurezza Sociale (ภาษาอิตาลี). 2020-03-27. เก็บ จากแหล่งเดิมเมื่อ 27 March 2020. สืบค้นเมื่อ 2020-03-27 .
↑ "Aktuelle Nachrichten aus Liechtenstein – volksblatt.li" . Liechtensteiner Volksblatt (ภาษาเยอรมัน). เก็บ จากแหล่งเดิมเมื่อ 17 February 2020. สืบค้นเมื่อ 11 March 2020 .
↑ Public Health Services (27 March 2020). "COVID-19 Coronavirus – Testing results" . www.gov.gg (ภาษาอังกฤษ). St Peter Port. สืบค้นเมื่อ 16 April 2020 .
↑ "Covid-19: 2 new cases in the Vatican, another 170 people tested – Vatican News" . Vaticannews.va. 2020-03-26. เก็บ จากแหล่งเดิมเมื่อ 28 March 2020. สืบค้นเมื่อ 2020-03-30 .
↑ https://shendetesia.gov.al/ministria-e-shendetesise-konfirmohen-dy-rastet-e-para-me-koronavirusin-e-ri/
↑ https://www.tt.com/artikel/30738198/eintragungsfehler-patient-0-in-ischgl-nun-doch-schon-im-februar
สถาบัน
ศูนย์ควบคุม และป้องกันโรค โรงพยาบาล และสิ่งเกี่ยวข้อง องค์กร
บุคคล
แพทย์ผู้นำ การปฏิบัติ นักวิจัย เจ้าหน้าที่ จีน อิตาลี สหราชอาณาจักร สหรัฐ
อื่น ๆ ผู้เสียชีวิต
ข้อมูล (แม่แบบ)
ทั่วโลก แอฟริกา เอเชีย ยุโรป (แผนภูมิ )อเมริกาเหนือ โอเชียเนีย อเมริกาใต้