ฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติยุโรป 2020
ฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติยุโรป 2020 (อังกฤษ: 2020 UEFA European Football Championship) หรือรู้จักกันในชื่อ ยูโร 2020 เป็นการแข่งขันฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติยุโรปครั้งที่ 16 จัดขึ้นโดยยูฟ่า โดยเป็นครั้งแรกที่จะมีการแข่งขันใน 12 เมืองของทวีปยุโรป เพื่อเป็นการฉลองครบรอบ 60 ปีของการแข่งขัน[1]
ทัวร์นาเมนต์จะจัดขึ้นใน 12 เมืองใน 12 ประเทศยูฟ่า เดิมทีจะมีกำหนดขึ้นตั้งแต่วันที่ 12 มิถุนายน ถึง 12 กรกฎาคม ค.ศ. 2020 เมื่อวันที่ 17 มีนาคม ค.ศ. 2020 ยูฟ่าได้ประกาศออกมาว่าทัวร์นาเมนต์จะล่าช้าประมาณหนึ่งปีเนื่องจากการแพร่ระบาดโคโรนาไวรัสทั่วยุโรปใน ค.ศ. 2020 และเสนอให้มีขึ้นตั้งแต่วันที่ 11 มิถุนายน ถึง 11 กรกฎาคม ค.ศ. 2021 การแข่งขันได้ถูกเลื่อนการแข่งขันออกไปเพื่อลดแรงกดดันต่อการบริการสาธารณะในประเทศที่ได้รับผลกระทบและเพื่อให้มีพื้นที่ว่างในปฏิทินสำหรับความสำเร็จของลีกในประเทศที่ถูกระงับ[2]
รอบคัดเลือก
ทีมที่ผ่านเข้ารอบ
ทีม[A]
|
วิธีการเข้ารอบ
|
วันที่เข้ารอบ
|
จำนวนครั้งที่เข้ารอบ[B]
|
เบลเยียม |
I1 !ชนะเลิศ กลุ่มไอ |
000000002019-10-10-000010 ตุลาคม 2019 |
5 (1972, 1980, 1984, 2000, 2016)
|
อิตาลี |
J1 !ชนะเลิศ กลุ่มเจ |
000000002019-10-12-000012 ตุลาคม 2019 |
9 (1968, 1980, 1988, 1996, 2000, 2004, 2008, 2012, 2016)
|
รัสเซีย[C] |
I2 !รองชนะเลิศ กลุ่มไอ |
000000002019-10-13-000113 ตุลาคม 2019 |
11 (1960, 1964, 1968, 1972, 1988, 1992, 1996, 2004, 2008, 2012, 2016)
|
โปแลนด์ |
G1 !ชนะเลิศ กลุ่มจี |
000000002019-10-13-000213 ตุลาคม 2019 |
3 (2008, 2012, 2016)
|
ยูเครน |
B1 !ชนะเลิศ กลุ่มบี |
000000002019-10-14-000014 ตุลาคม 2019 |
2 (2012, 2016)
|
สเปน |
F1 !ชนะเลิศ กลุ่มเอฟ |
000000002019-10-15-000015 ตุลาคม 2019 |
10 (1964, 1980, 1984, 1988, 1996, 2000, 2004, 2008, 2012, 2016)
|
ฝรั่งเศส |
H1 !ชนะเลิศ กลุ่มเอช |
000000002019-11-14-000014 พฤศจิกายน 2019 |
9 (1960, 1984, 1992, 1996, 2000, 2004, 2008, 2012, 2016)
|
ตุรกี |
H2 !รองชนะเลิศ กลุ่มเอช |
000000002019-11-14-000014 พฤศจิกายน 2019 |
4 (1996, 2000, 2008, 2016)
|
อังกฤษ |
A1 !ชนะเลิศ กลุ่มเอ |
000000002019-11-14-000014 พฤศจิกายน 2019 |
9 (1968, 1980, 1988, 1992, 1996, 2000, 2004, 2012, 2016)
|
เช็กเกีย[D] |
A2 !รองชนะเลิศ กลุ่มเอ |
000000002019-11-14-000014 พฤศจิกายน 2019 |
9 (1960, 1976, 1980, 1996, 2000, 2004, 2008, 2012, 2016)
|
ฟินแลนด์ |
J2 !รองชนะเลิศ กลุ่มเจ |
000000002019-11-15-000015 พฤศจิกายน 2019 |
0 (ครั้งแรก)
|
สวีเดน |
F2 !รองชนะเลิศ กลุ่มเอฟ |
000000002019-11-15-000015 พฤศจิกายน 2019 |
6 (1992, 2000, 2004, 2008, 2012, 2016)
|
โครเอเชีย |
E1 !ชนะเลิศ กลุ่มอี |
000000002019-11-16-000016 พฤศจิกายน 2019 |
5 (1996, 2004, 2008, 2012, 2016)
|
ออสเตรีย |
G2 !รองชนะเลิศ กลุ่มจี |
000000002019-11-16-000016 พฤศจิกายน 2019 |
2 (2008, 2016)
|
เนเธอร์แลนด์ |
C2 !รองชนะเลิศ กลุ่มซี |
000000002019-11-16-000016 พฤศจิกายน 2019 |
9 (1976, 1980, 1988, 1992, 1996, 2000, 2004, 2008, 2012)
|
เยอรมนี[E] |
C1 !ชนะเลิศ กลุ่มซี |
000000002019-11-16-000016 พฤศจิกายน 2019 |
12 (1972, 1976, 1980, 1984, 1988, 1992, 1996, 2000, 2004, 2008, 2012, 2016)
|
โปรตุเกส |
B2 !รองชนะเลิศ กลุ่มบี |
000000002019-11-17-000017 พฤศจิกายน 2019 |
7 (1984, 1996, 2000, 2004, 2008, 2012, 2016)
|
สวิตเซอร์แลนด์ |
D1 !ชนะเลิศ กลุ่มดี |
000000002019-11-18-000018 พฤศจิกายน 2019 |
4 (1996, 2004, 2008, 2016)
|
เดนมาร์ก |
D2 !รองชนะเลิศ กลุ่มดี |
000000002019-11-18-000018 พฤศจิกายน 2019 |
8 (1964, 1984, 1988, 1992, 1996, 2000, 2004, 2012)
|
เวลส์ |
E2 !รองชนะเลิศ กลุ่มอี |
000000002019-11-19-000019 พฤศจิกายน 2019 |
1 (2016)
|
มาซิโดเนียเหนือ |
PD !ชนะเลิศ รอบเพลย์ออฟ สายดี |
000000002020-11-12-000012 พฤศจิกายน 2020 |
0 (ครั้งแรก)
|
ฮังการี |
PA !ชนะเลิศ รอบเพลย์ออฟ สายเอ |
000000002020-11-12-000012 พฤศจิกายน 2020 |
3 (1964, 1972, 2016)
|
สโลวาเกีย |
PB !ชนะเลิศ รอบเพลย์ออฟ สายบี |
000000002020-11-12-000012 พฤศจิกายน 2020 |
1 (2016)
|
สกอตแลนด์ |
PC !ชนะเลิศ รอบเพลย์ออฟ สายซี |
000000002020-11-12-000012 พฤศจิกายน 2020 |
2 (1992, 1996)
|
สถานที่
ลอนดอน
|
โรม
|
|
มิวนิก
|
สนามกีฬาเวมบลีย์
|
สตาดีโอโอลิมปีโก
|
อัลลีอันทซ์อาเรนา
|
ความจุ: 90,000
|
ความจุ: 70,634
|
ความจุ: 70,000
|
|
|
|
บากู
|
เซนต์ปีเตอร์สเบิร์ก
|
บูดาเปสต์
|
สนามกีฬาโอลิมปิก
|
สนามกีฬาเครสตอฟสกี
|
ปุชกาชออเรนอ
|
ความจุ: 68,700
|
ความจุ: 68,134
|
ความจุ: 67,215
|
|
|
|
เซบิยา
|
บูคาเรสต์
|
อัมสเตอร์ดัม
|
กลาสโกว์
|
โคเปนเฮเกน
|
สนามกีฬาลาการ์ตูฆา
|
อาเรนานัตซียอนาเลอ
|
โยฮัน ไกรฟฟ์ อาเรนา
|
แฮมป์เดนพาร์ก
|
สนามกีฬาพาร์เกิน
|
ความจุ: 60,000
|
ความจุ: 55,600
|
ความจุ: 54,990
|
ความจุ: 51,866
|
ความจุ: 38,065
|
|
|
|
|
|
แต่ละเมืองจะเป็นเจ้าภาพในจัดการแข่งขันรอบแบ่งกลุ่มสามนัด และอีกหนึ่งนัดในรอบ 16 ทีมหรือรอบรองชนะเลิศ การจัดสรรการแข่งขันสำหรับ 11 สนามมีดังต่อไปนี้:
- รอบแบ่งกลุ่ม, 16 ทีม, รองชนะเลิศ และชิงชนะเลิศ ลอนดอน (อังกฤษ)
- รอบแบ่งกลุ่มและก่อนรองชนะเลิศ: บากู (อาเซอร์ไบจาน), มิวนิก (เยอรมนี), โรม (อิตาลี), เซนต์ปีเตอร์สเบิร์ก (รัสเซีย)
- รอบแบ่งกลุ่มและ 16 ทีม: อัมสเตอร์ดัม (เนเธอร์แลนด์), บูคาเรสต์ (โรมาเนีย), บูดาเปสต์ (ฮังการี), โคเปนเฮเกน (เดนมาร์ก), กลาสโกว์ (สกอตแลนด์), เซบิยา (สเปน)
เมืองเจ้าภาพนั้นแบ่งออกเป็นหกการจับคู่ โดยอิงตามพื้นฐานของความแข็งแกร่งด้านการกีฬา (หากทีมเจ้าภาพทุกคนมีคุณสมบัติ) การพิจารณาทางภูมิศาสตร์ และข้อจำกัดด้านความปลอดภัยหรือการเมือง การจับคู่จัดสรรให้กับกลุ่มโดยใช้วิธีการสุ่มเมื่อวันที่ 7 ธันวาคม ค.ศ. 2017 แต่ละประเทศเจ้าภาพที่ผ่านการรับรองจะเล่นอย่างน้อยสองนัดแบบเหย้า การจับคู่สถานที่กลุ่มมีดังนี้[3]
ผู้เล่น
เพื่อลดภาระของผู้เล่นเนื่องจากการระบาดของโควิด-19 จึงมีการเพิ่มขนาดทีมจาก 23 คน (ใช้จำนวนนี้ทุกครั้งนับตั้งแต่ฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติยุโรป 2004) เป็น 26 คน อย่างไรก็ตาม ทีมยังคงส่งผู้เล่นในแต่ละนัดได้สูงสุดเพียง 23 คน[4] ทีมชาติแต่ละทีมจะต้องมีผู้รักษาประตูอย่างน้อยสามคน และลงทะเบียนรายชื่อผู้เล่นใน 10 วันก่อนการแข่งขันนัดแรกเริ่มต้น (ก่อนวันที่ 1 มิถุนายน 2021) หากผู้เล่นได้รับบาดเจ็บหรือเจ็บป่วยรุนแรงจนไม่สามารถเข้าร่วมแข่งขันก่อนการแข่งขันนัดแรกของทีม สามารถเปลี่ยนเป็นผู้เล่นคนอื่นได้[1] อย่างไรก็ตาม ผู้รักษาประตูอาจถูกเปลี่ยนหลังจากการแข่งขันนัดแรกของทีมได้ หากได้รับบาดเจ็บหรือเจ็บป่วย[4]
ผู้ตัดสิน
พิธีเปิด
รอบแบ่งกลุ่ม
ยูฟ่าประกาศตารางการแข่งขันเมื่อวันที่ 24 พฤษภาคม 2018[5][6] เวลาแข่งขันในงรอบแบ่งกลุ่มและรอบ 16 ทีมสุดท้ายจะมีการประกาศหลังจับฉลากรอบสุดท้าย
ทีมชนะเลิศ รองชนะเลิศ และทีมอันดับสามที่ดีที่สุดสี่ทีมของแต่ละกลุ่ม จะผ่านเข้าสู่รอบ 16 ทีมสุดท้าย
เวลาทั้งหมดเป็นเวลาออมแสงยุโรปกลาง (UTC+2) และตามเวลาท้องถิ่น หากสถานที่ตั้งอยู่ในเขตเวลาที่แตกต่างกัน
กลุ่มเอ
แหล่งข้อมูล: ยูฟ่า(H) เจ้าภาพ Notes:
- ↑ 1.0 1.1 เสมอกันที่ผลการแข่งขันเฮดทูเฮด (เวลส์ 1–1 สวิตเซอร์แลนด์). ผลต่างประตูโดยรวมถูกนำมาใช้กับเงื่อนไข.
กลุ่มบี
ปรับปรุงข้อมูลล่าสุดในนัดการแข่งขันที่ลงเล่นในวันที่ 21 มิถุนายน 2021. แหล่งข้อมูล: ยูฟ่า(H) เจ้าภาพ Notes:
- ↑ 1.0 1.1 1.2 เสมอด้วยคะแนนเฮดทูเฮด (3). ผลต่างประตูเฮดทูเฮด: เดนมาร์ก +2, ฟินแลนด์ 0, รัสเซีย –2.
กลุ่มซี
แหล่งข้อมูล: ยูฟ่า(H) เจ้าภาพ
กลุ่มดี
แหล่งข้อมูล: ยูฟ่า(H) เจ้าภาพ Notes:
- ↑ 1.0 1.1 เสมอกันที่ผลการแข่งขันเฮดทูเฮด (โครเอเชีย 1–1 เช็กเกีย). ผลต่างประตูโดยรวมถูกนำมาใช้กับเงื่อนไข.
กลุ่มอี
อันดับ
|
ทีม
|
เล่น
|
ชนะ
|
เสมอ
|
แพ้
|
ได้
|
เสีย
|
ต่าง
|
คะแนน
|
การผ่านเข้ารอบ
|
1
|
สวีเดน
|
3
|
2
|
1
|
0
|
4
|
2
|
+2
|
7
|
ผ่านเข้าสู่รอบแพ้คัดออก
|
2
|
สเปน (H)
|
3
|
1
|
2
|
0
|
6
|
1
|
+5
|
5
|
3
|
สโลวาเกีย
|
3
|
1
|
0
|
2
|
2
|
7
|
−5
|
3
|
|
4
|
โปแลนด์
|
3
|
0
|
1
|
2
|
4
|
6
|
−2
|
1
| แหล่งข้อมูล: ยูฟ่า(H) เจ้าภาพ
กลุ่มเอฟ
แหล่งข้อมูล: ยูฟ่า(H) เจ้าภาพ Notes:
- ↑ 1.0 1.1 ผลการแข่งขันเฮดทูเฮด: โปรตุเกส 2–4 เยอรมนี.
ตารางคะแนนทีมอันดับที่สาม
รอบแพ้คัดออก
สายการแข่งขัน
รอบ 16 ทีมสุดท้าย
รอบก่อนรองชนะเลิศ
รอบรองชนะเลิศ
รอบชิงชนะเลิศ
สถิติ
ผู้ทำประตู
มีการทำประตู 142 ประตู จากการแข่งขัน 51 นัด เฉลี่ย 2.78 ประตูต่อนัด
การทำประตู 5 ครั้ง
การทำประตู 4 ครั้ง
การทำประตู 3 ครั้ง
การทำประตู 2 ครั้ง
การทำประตู 1 ครั้ง
การทำเข้าประตูตัวเอง 1 ครั้ง
แหล่งที่มา : ยูฟ่า[58]
การออกอากาศ
ศูนย์แพร่ภาพกระจายเสียงระหว่างประเทศ (ไอบีซี) จะตั้งอยู่ที่แอ็กซ์โปฮาร์เลมเมอร์เมร์ในเมืองไฟฟ์เฮยเซิน ประเทศเนเธอร์แลนด์[59]
อ้างอิง
แหล่งข้อมูลอื่น
|
---|
การแข่งขัน | |
---|
รอบคัดเลือก | |
---|
นัดชิงชนะเลิศ | |
---|
ผู้เล่น | |
---|
คัดเลือกเจ้าภาพ | |
---|
สถิติ | |
---|
สิทธิในการออกอากาศ | |
---|
สถิติรวม | |
---|
เบ็ดเตล็ด | |
---|
|
|