Share to:

 

ภาษามีโซ

ภาษามีโซ
Mizo ṭawng
ประเทศที่มีการพูดอินเดีย, พม่า, บังกลาเทศ
ภูมิภาครัฐมิโซรัม, รัฐตรีปุระ, รัฐอัสสัม, รัฐมณีปุระ, รัฐเมฆาลัย, รัฐชีน, รัฐนาคาแลนด์, บังกลาเทศ
ชาติพันธุ์ชาวมีโซ
จำนวนผู้พูด830,846 คน  (2011)[1]
ตระกูลภาษา
ระบบการเขียนอักษรเบงกอล-อัสสัม, อักษรละติน[2]
สถานภาพทางการ
ภาษาทางการธงของประเทศอินเดีย อินเดีย
รหัสภาษา
ISO 639-2lus
ISO 639-3lus

ภาษามีโซ เป็นภาษาที่ใช้ในรัฐมิโซรัมซึ่งตั้งอยู่ระหว่างทิวเขาจิตตะกองกับทิวเขาชีน คำว่ามีโซแปลว่า "คนบนที่สูง" ภาษามีโซรวมทุกสำเนียง มีผู้พูดในอินเดีย 529,000 คน (2540) ในบังกลาเทศ 1,041 คน (2524) ในพม่า 12,500 คน (2526) รวมทั้งหมด 542,541 คน

ประวัติ

ภาษามีโซเป็นภาษาในกลุ่มทิเบต-พม่า มีวรรณยุกต์ มีหลายสำเนียง โดยสำเนียงดุห์เลียนหรือลูเซยเป็นภาษากลางในรัฐมิโซรัม

ระบบการเขียน

ไม่มีระบบการเขียนเป็นของตนเอง มิชชันนารีชาวตะวันตกเป็นผู้คิดค้นการเขียนด้วยอักษรละติน มีอักษร 25 ตัว

อักษร a aw b ch d e f g ng h i j k
ชื่อ listen listen listen listen listen listen listen listen listen listen listen listen listen
อักษร l m n o p r s t u v z
ชื่อ listen listen listen listen listen listen listen listen listen listen listen listen

ตัวอักษรในรูปปัจจุบันประดิษฐ์โดย Rev. J.H.Lorrain และ Rev. F.W.Savidge จากคณะมิชชันนารีคริสเตียนแห่งมีโซรัมกลุ่มแรก[3]

อ้างอิง

  1. "Statement 1: Abstract of speakers' strength of languages and mother tongues – 2011". www.censusindia.gov.in. Office of the Registrar General & Census Commissioner, India. สืบค้นเมื่อ 7 July 2018.
  2. "Mizo". Ethnologue (ภาษาอังกฤษ). สืบค้นเมื่อ 24 July 2019.
  3. Lalthangliana, B.: 2001, History and Culture of Mizo in India, Burma and Bangladesh, Aizawl. "Baptist Missionary Conference, 1892", p. 745

ข้อมูล

  1. The Ethnologue, 13th Edition, Barbara F. Grimes, Editor, 1996, Summer Institute of Linguistics, Inc.
  2. K. S. Singh: 1995, People of India-Mizoram, Volume XXXIII, Anthropological Survey of India, Calcutta.
  3. Grierson, G. A. (Ed.) (1904b). Tibeto-Burman Family: Specimens of the Kuki-Chin and Burma Groups, Volume III Part III of Linguistic Survey of India. Office of the Superintendent of Government Printing, Calcutta.
  4. Grierson, G. A: 1995, Languages of North-Eastern India, Gian Publishing House, New Delhi.
  5. Lunghnema, V., Mizo chanchin (B.C. 300 aṭanga 1929 A.D.), 1993.
  6. Zoramdinthara, Dr., Mizo Fiction: Emergence and Development. Ruby Press & Co.(New Delhi). 2013. ISBN 978-93-82395-16-4

แหล่งข้อมูลอื่น

Kembali kehalaman sebelumnya