สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 22 (6 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2548 - 24 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2549) เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรที่มาจากการเลือกตั้ง วันที่ 6 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2548 มีสมาชิกจำนวน 500 คน แบ่งเป็นแบบเขตเลือกตั้ง 400 คน แบบบัญชีรายชื่อ 100 คน โดยมีพรรคการเมืองที่ได้รับการเลือกตั้งสูงสุด คือ พรรคไทยรักไทย จำนวน 377 คน
จำนวนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจำแนกตามพรรคและภาค
|
|
พรรค |
บัญชีรายชื่อ |
แบ่งเขต |
รวม
|
กรุงเทพ |
กลาง |
เหนือ |
อีสาน |
ใต้ |
ตะวันออก |
ตะวันตก
|
ไทยรักไทย |
67 |
32 |
73 |
40 |
126 |
1 |
24 |
12 |
375
|
ประชาธิปัตย์ |
26 |
4 |
4 |
- |
2 |
52 |
1 |
7 |
96
|
ชาติไทย |
7 |
1 |
11 |
- |
6 |
1 |
- |
- |
26
|
มหาชน |
- |
- |
1 |
- |
2 |
- |
- |
- |
3
|
รวม |
100 |
37 |
89 |
40 |
136 |
54 |
25 |
19 |
500
|
รายนามสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อ
|
ได้รับการเลือกตั้ง |
|
ดำรงตำแหน่งจนครบวาระ ออกจากตำแหน่ง
|
|
ได้รับเลื่อนขึ้นมาภายหลัง
|
มีรายนามดังนี้[1]
รายนามสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขต
- ดำรงสมาชิกภาพ
- สิ้นสุดสมาชิกภาพ
- ได้รับใบเหลือง
- ได้รับใบแดง
แยกตามรายภาคตามการแบ่งของราชบัณฑิตยสถาน
มีรายนามดังนี้
กรุงเทพ
ภาคกลาง
ภาคเหนือ
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
ภาคใต้
ภาคตะวันออก
ภาคตะวันตก
ผู้ดำรงตำแหน่ง
- ประธานสภาผู้แทนราษฎร โภคิน พลกุล
- รองประธานสภาผู้แทนราษฎร คนที่หนึ่ง สุชาติ ตันเจริญ
- รองประธานสภาผู้แทนราษฎร คนที่สอง ลลิตา ฤกษ์สำราญ
- ผู้นำฝ่ายค้าน อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ
ประธานคณะกรรมาธิการสามัญ
ข้อมูลทั่วไป
- จำนวนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรที่ได้รับเลือกตั้งครั้งแรก จำนวน 101 คน
- จำนวนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรสุภาพสตรี จำนวน 53 คน
- สมาชิกที่มีอายุมากที่สุด คือ ศาสตราจารย์มารุต บุนนาค ส.ส. แบบบัญชีรายชื่อ พรรคประชาธิปัตย์ อายุ 81 ปี
- สมาชิกที่มีอายุน้อยที่สุด คือ เสมอกัน เที่ยงธรรม ส.ส. แบบแบ่งเขตเลือกตั้ง จังหวัดสุพรรณบุรี พรรคชาติไทย อายุ 27 ปี
การสิ้นสุดลงของสภาผู้แทนราษฎร
สภาผู้แทนราษฎรชุดนี้ได้สิ้นสุดลงเมื่อวันที่ 24 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2549 อันเนื่องมาจากมีพระบรมราชโองการให้ประกาศยุบสภาผู้แทนราษฎร แลกำหนดให้มีการเลือกตั้งใหม่ในวันที่ 2 เมษายน พ.ศ. 2549 แต่ต่อมาถูกศาลรัฐธรรมนูญ พิพากษาให้การเลือกตั้งเป็นโมฆะ และตลอดระยะเวลา 7 เดือน จึงไม่มีสภาผู้แทนราษฎร จนกระทั่งในวันที่ 19 กันยายน พ.ศ. 2549 ก่อนที่จะมีการเลือกตั้งใหม่ ก็เกิดการรัฐประหาร นำโดยคณะปฏิรูปการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข (ค.ป.ค.) เพื่อยึดอำนาจการปกครองประเทศจากรักษาการนายกรัฐมนตรี พันตำรวจโท ทักษิณ ชินวัตร จึงให้การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฏรจึงถูกเลื่อนออกไปจากวันที่ 15 ตุลาคม พ.ศ. 2549 ไปจนกระทั่งวันที่ 23 ธันวาคม พ.ศ. 2550 โดยมีรัฐบาลชั่วคราว บริหารราชการแผ่นดินไปจนกว่าจะถึงวันเลือกตั้ง
ฉายารัฐสภา
อ้างอิง
แหล่งข้อมูลอื่น