Share to:

 

จังหวัดเชียงใหม่ในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2519

จังหวัดเชียงใหม่ในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2519

← พ.ศ. 2518 4 เมษายน พ.ศ. 2519 พ.ศ. 2522 →

7 ที่นั่งในสภาผู้แทนราษฎรไทย
ลงทะเบียน611,950
ผู้ใช้สิทธิ50.98%
  First party Second party Third party
 
ผู้นำ หม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช หม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมช ประมาณ อดิเรกสาร
พรรค ประชาธิปัตย์ กิจสังคม ชาติไทย
ที่นั่งก่อนหน้า 4 0 0
ที่นั่งที่ชนะ 4 2 1
ที่นั่งเปลี่ยน Steady0 เพิ่มขึ้น2 เพิ่มขึ้น1

  Fourth party Fifth party Sixth party
 
ผู้นำ แผ่พืชน์ เทพหัสดิน ณ อยุธยา ดรงค์ สิงห์โตทอง สมคิด ศรีสังคม
พรรค ไท (พ.ศ. 2517) สันติชน สังคมนิยมแห่งประเทศไทย
ที่นั่งก่อนหน้า 1 1 1
ที่นั่งที่ชนะ 0 0 0
ที่นั่งเปลี่ยน ลดลง1 ลดลง1 ลดลง1

นายกรัฐมนตรีก่อนการเลือกตั้ง

หม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมช
กิจสังคม

นายกรัฐมนตรีหลังการเลือกตั้ง

หม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช
ประชาธิปัตย์

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดเชียงใหม่ พ.ศ. 2519 เป็นส่วนหนึ่งของการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2519 กำหนดให้มีขึ้นในวันที่ 4 เมษายน พ.ศ. 2519 โดยแบ่งเขตการเลือกตั้งออกเป็น 3 เขตเลือกตั้ง มีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้ 7 คน จำนวนที่นั่งเท่าเดิมจากการเลือกตั้งครั้งก่อนเมื่อ พ.ศ. 2518 แต่ละเขตเลือกตั้งจะมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้เขตละ 3 คน (สำหรับเขตเลือกตั้งที่ 1) และ 2 คน (สำหรับเขตเลือกตั้งที่ 2 และ 3)[1]

ภาพรวม

ผลการเลือกตั้งแบบแบ่งเขต

เขต 1เขต 2เขต 3

สัญลักษณ์และความหมาย
* ส.ส.ระบบเขตเลือกตั้งที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
** ส.ส.ระบบบัญชีรายชื่อที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
ผู้สมัครที่ถูกตัดสิทธิ์
ผู้สมัครที่เคยดำรงตำแหน่งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรมาแล้ว
( ) หมายเลขประจำตัวของผู้สมัคร
ตัวหนา ผู้สมัครที่ชนะการเลือกตั้ง

เขตเลือกตั้งที่ 1

เขตการเลือกตั้งที่ 1 ประกอบด้วยอำเภอเมืองเชียงใหม่, อำเภอสันกำแพง, อำเภอสันทราย, อำเภอสารภี, อำเภอดอยสะเก็ด และอำเภอแม่ริม

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 1 จังหวัดเชียงใหม่
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
กิจสังคม ปรีดา พัฒนถาบุตร (10)* 44,342
ชาติไทย สุรพันธ์ ชินวัตร (7) 41,471
กิจสังคม ชัชวาล ชุติมา (11) 33,883
ชาติไทย พันตำรวจเอก นิรันดร ชัยนาม (5) 29,290
เกษตรสังคม มอนอินทร์ รินคำ (1) 27,718
ประชาธิปัตย์ สันต์ อารีหนู (22) 23,496
ประชาธิปัตย์ อินทร์สม ไชยซาววงศ์ (21)* 22,875
กิจสังคม ธวัชชัย นามวงศ์พรหม (12)* 20,062
พลังประชาชน (พ.ศ. 2517) อินสวน ไชยซาววงศ์ (14) 19,781
ประชาธิปัตย์ บวร ชุติมา (23) 17,314
ชาติไทย บรรจบ ลิ้มจรูญ (6) 10,942
พลังใหม่ โอกาส พลางกูร (2) 10,113
พลังใหม่ อุไร มังตรีสรรค์ (3) 9,380
พลังใหม่ สมัย ยอดอินทร์ (4) 9,201
ชาติไทย อุสุม นิมมานเหมินท์ (20) 7,039
พลังประชาชน (พ.ศ. 2517) สุนทร มุนีเวช (13) 4,894
ธรรมสังคม วีรวรรณ รัตนสุภา (9) 4,184
ธรรมสังคม เกส กรโกวิท (8) 3,664
ธรรมาธิปไตย อ่ำ อุ่นใจ (15) 2,160
แรงงาน (ประเทศไทย) ประสิทธิ์ พิทักษ์ (18) 1,606
แรงงาน (ประเทศไทย) พินิจ ชินชัย (25) 1,305
แรงงาน (ประเทศไทย) นิกร อักษรพรหม (17) 1,120
ไท (พ.ศ. 2517) บุญทันต์ โพธินี (19) 890
ธรรมาธิปไตย นาวาตรี ส่งแสง พินธุวัฒน์ (16) 808
ไท (พ.ศ. 2517) สมพล มานะพล (24) 757
ฟื้นฟูชาติไทย วิโรจน์ ประกอบกิจ (26) 399
บัตรดี
ไม่ประสงค์ลงคะแนน
บัตรเสีย
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง
กิจสังคม ได้ที่นั่งจาก สันติชน
ชาติไทย ได้ที่นั่งจาก ประชาธิปัตย์
กิจสังคม ได้ที่นั่งจาก ไท (พ.ศ. 2517)

เขตเลือกตั้งที่ 2

เขตการเลือกตั้งที่ 2 ประกอบด้วยอำเภอสะเมิง, อำเภอแม่แตง, อำเภอเชียงดาว, อำเภอพร้าว, อำเภอฝาง และอำเภอแม่อาย

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 2 จังหวัดเชียงใหม่
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ประชาธิปัตย์ ไกรสร ตันติพงศ์ (4)* 39,172
ประชาธิปัตย์ อารีย์ วีระพันธุ์ (5)* 32,483
กิจสังคม ทองชอบ กินาวงศ์ (9) 19,473
กิจสังคม ไกรจิตต์ นิลตะสุวรรณ (8) 14,414
ชาติไทย ร้อยตำรวจตรี บัณฑิต วรการบัญชา (11) 9,203
ชาติไทย วรศักดิ์ นิมานันท์ (10)✔ 9,187
ไท (พ.ศ. 2517) หม่อมราชวงศ์ ปริวัฒย์ เกษมศรี (3) 4,074
พลังใหม่ บรรยงค์ สุนนท์ชัย (2) 3,397
พลังใหม่ อินสอน เมธา (1) 3,317
แรงงาน (ประเทศไทย) บุญชู ช่างไม้ (16) 3,001
ธรรมสังคม บรรจบ กิจรัตนา (7) 2,856
พลังประชาชน (พ.ศ. 2517) โชคชัย สารากิจ (13) 2,725
ธรรมสังคม นครินทร์ ฮั่นพงษ์กุล (6) 2,022
แรงงาน (ประเทศไทย) บุญศรี วิญญรัตน์ (14) 1,590
แรงงาน (ประเทศไทย) พันตรี สมพล ผลวัฒนะ (15) 1,183
ไท (พ.ศ. 2517) เที่ยง บุญสอน (12) 874
สังคมชาตินิยม เจ้าบุญเลิศ ณ เชียงใหม่ (19)✔ 711
สยามใหม่ (พ.ศ. 2518) ถาวร ขัติพิบูลย์ (18) 599
สยามใหม่ (พ.ศ. 2518) อัมรินทร์ อยู่เย็น (17) 361
บัตรดี
ไม่ประสงค์ลงคะแนน
บัตรเสีย
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง
ประชาธิปัตย์ รักษาที่นั่ง
ประชาธิปัตย์ รักษาที่นั่ง

เขตเลือกตั้งที่ 3

เขตการเลือกตั้งที่ 3 ประกอบด้วยอำเภอหางดง, อำเภอสันป่าตอง, อำเภอจอมทอง, อำเภอฮอด, อำเภอแม่แจ่ม, อำเภออมก๋อย และกิ่งอำเภอดอยเต่า

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 3 จังหวัดเชียงใหม่
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ประชาธิปัตย์ ส่งสุข ภัคเกษม (5)* 47,537
ประชาธิปัตย์ ผณินทรา ภัคเกษม (6) 27,477
กิจสังคม อำนวย ยศสุข (3) 19,107
กิจสังคม สุทน ปันทวงศ์ (4) 16,205
ชาติไทย เลิศ ชินวัตร (1)✔ 13,716
ชาติไทย โอภาส เลิศพฤกษ์ (14) 11,663
ธรรมสังคม กมล กมลรัตนพิบูล (17) 6,180
เกษตรสังคม ปัญญา พรหมเสนใจ (7) 4,046
พลังใหม่ สวัสดิ์ นุพงศ์ (8) 3,492
พลังใหม่ ธวัช ทะพิงค์แก (9) 3,470
ธรรมาธิปไตย หม่อมราชวงศ์ พงษ์ปรีชา เกษมสันต์ (12) 3,425
ชาติไทย ชาญชัย ไพรัชกุล (2) 3,241
พลังประชาชน (พ.ศ. 2517) สุนทร ปรีดำ (11) 1,613
ธรรมสังคม วิรัติ สุจนิล (10) 1,157
ไทยอิสสระ ศิริ คำอักษร (13) 1,094
แรงงาน (ประเทศไทย) ร้อยโท ราศรี สิงหเนตร (16)✔ 1,049
แนวร่วมประชาธิปไตย ณรงค์ ไฝทอง (15) 967
แนวร่วมประชาธิปไตย ประภาส ตันสุหัช (18) 753
บัตรดี
ไม่ประสงค์ลงคะแนน
บัตรเสีย
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง
ประชาธิปัตย์ รักษาที่นั่ง
ประชาธิปัตย์ ได้ที่นั่งจาก สังคมนิยมแห่งประเทศไทย

ดูเพิ่ม

อ้างอิง

  1. รายงานผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ๔ เมษายน ๒๕๑๙ (วิจัย ๑). กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย. 2519
Kembali kehalaman sebelumnya