Share to:

 

จังหวัดเชียงใหม่ในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2538

จังหวัดเชียงใหม่ในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2538

← กันยายน พ.ศ. 2535 2 กรกฎาคม พ.ศ. 2538 พ.ศ. 2539 →

10 ที่นั่งในสภาผู้แทนราษฎรไทย
ลงทะเบียน1,011,357
ผู้ใช้สิทธิ69.14%
  First party Second party Third party
 
ผู้นำ ชาติชาย ชุณหะวัณ ชวลิต ยงใจยุทธ ทักษิณ ชินวัตร
พรรค ชาติพัฒนา (พ.ศ. 2535) ความหวังใหม่ พลังธรรม
ที่นั่งก่อนหน้า 4 2 2
ที่นั่งที่ชนะ 4 2 1
ที่นั่งเปลี่ยน Steady0 Steady0 ลดลง1

  Fourth party Fifth party Sixth party
 
ผู้นำ บรรหาร ศิลปอาชา อุทัย พิมพ์ใจชน อำนวย วีรวรรณ
พรรค ชาติไทย เอกภาพ นำไทย
ที่นั่งก่อนหน้า 1 0 พรรคใหม่
ที่นั่งที่ชนะ 1 1 1
ที่นั่งเปลี่ยน Steady0 เพิ่มขึ้น1 เพิ่มขึ้น1

  Seventh party
 
ผู้นำ ชวน หลีกภัย
พรรค ประชาธิปัตย์
ที่นั่งก่อนหน้า 1
ที่นั่งที่ชนะ 0
ที่นั่งเปลี่ยน ลดลง1

นายกรัฐมนตรีก่อนการเลือกตั้ง

ชวน หลีกภัย
ประชาธิปัตย์

นายกรัฐมนตรีหลังการเลือกตั้ง

บรรหาร ศิลปอาชา
ชาติไทย

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดเชียงใหม่ พ.ศ. 2538 เป็นส่วนหนึ่งของการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2538 กำหนดให้มีขึ้นในวันที่ 2 กรกฎาคม พ.ศ. 2538 โดยแบ่งเขตการเลือกตั้งออกเป็น 4 เขตเลือกตั้ง มีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้ 10 คน จำนวนที่นั่งเพิ่มจากการเลือกตั้งครั้งก่อนเมื่อเดือนกันยายน พ.ศ. 2535 1 ที่นั่ง แต่ละเขตเลือกตั้งจะมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้เขตละ 3 คน (สำหรับเขตเลือกตั้งที่ 1 และ 2) และ 2 คน (สำหรับเขตเลือกตั้งที่ 3 และ 4)[1]

ภาพรวม

ผลการเลือกตั้งแบบแบ่งเขต

เขต 1เขต 2เขต 3เขต 4

สัญลักษณ์และความหมาย
* ส.ส.ระบบเขตเลือกตั้งที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
** ส.ส.ระบบบัญชีรายชื่อที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
ผู้สมัครที่ถูกตัดสิทธิ์
ผู้สมัครที่เคยดำรงตำแหน่งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรมาแล้ว
( ) หมายเลขประจำตัวของผู้สมัคร
ตัวหนา ผู้สมัครที่ชนะการเลือกตั้ง

เขตเลือกตั้งที่ 1

เขตการเลือกตั้งที่ 1 ประกอบด้วยอำเภอเมืองเชียงใหม่, อำเภอสันกำแพง, อำเภอสารภี, อำเภอดอยสะเก็ด และกิ่งอำเภอแม่ออน

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 1 จังหวัดเชียงใหม่
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ความหวังใหม่ ธวัชวงศ์ ณ เชียงใหม่ (1)* 118,775
พลังธรรม วิชัย วงศ์ไชย (10)* 78,324
ชาติไทย สุรพันธ์ ชินวัตร (22)✔ 59,255
พลังธรรม สุวิทย์ รุ่งวิสัย (11) 56,118
พลังธรรม ชรินรัตน์ พุทธปวน (12) 46,559
ประชาธิปัตย์ ณรงค์ นิยมไทย (7)* 45,794
ความหวังใหม่ มนัส ไววรกิจ (2) 42,574
ชาติพัฒนา (พ.ศ. 2535) พงศ์ สุภาวสิทธิ์ (4) 41,444
ประชาธิปัตย์ ราชันย์ วีระพันธุ์ (8) 40,404
ประชาธิปัตย์ วิริยะ ช่วยบำรุง (9) 29,620
นำไทย จำรูญ ไชยลังการณ์ (13)✔ 16,005
มวลชน สุรชัย ศิวิลัย (19) 14,333
ชาติไทย รุ่งอรุณ กองแก้ว (23) 5,826
ความหวังใหม่ มานพ พีรพัฒนาพงศ์ (3) 5,387
นำไทย สุชาติ พิทักษ์ (14) 3,065
ชาติพัฒนา (พ.ศ. 2535) จตุฤทธิ์ เขียวระยับ (5) 2,320
ชาติพัฒนา (พ.ศ. 2535) สนั่น ขัตตะนัน (6) 2,165
ชาติไทย ศุภลักษณ์ ศิรินันท์ (24) 1,984
นำไทย สมบูรณ์ สุรินทร์ (15) 1,867
มวลชน สมจิตร อับดุลเลาะ (21) 1,176
ประชากรไทย ประสิทธิ์ ธารีจิตร (18) 1,117
ประชากรไทย เทียนพรรณ พรมเสน (17) 1,093
ประชากรไทย วิวัฒน์ จัมปามาลา (16) 835
มวลชน สมหวัง เชื้อมีแรง (20) 645
บัตรดี
ไม่ประสงค์ลงคะแนน
บัตรเสีย
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง
ความหวังใหม่ รักษาที่นั่ง
พลังธรรม รักษาที่นั่ง
ชาติไทย ได้ที่นั่งจาก ประชาธิปัตย์

เขตเลือกตั้งที่ 2

เขตการเลือกตั้งที่ 2 ประกอบด้วยอำเภอสันป่าตอง, อำเภอจอมทอง, อำเภอฮอด, อำเภอแม่แจ่ม, อำเภอสะเมิง, อำเภอหางดง, อำเภออมก๋อย, อำเภอดอยเต่า, กิ่งอำเภอแม่วาง และกิ่งอำเภอดอยหล่อ

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 2 จังหวัดเชียงใหม่
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
นำไทย อำนวย ยศสุข (4)✔ 113,598
ชาติพัฒนา (พ.ศ. 2535) บุญช่วย ภู่จีนาพันธุ์ (10)* 92,893
ชาติพัฒนา (พ.ศ. 2535) สุรพล เกียรติไชยากร (12)* 79,454
ประชาธิปัตย์ ส่งสุข ภัคเกษม (7)* 65,018
ชาติพัฒนา (พ.ศ. 2535) ณรงค์ ภูอิทธิวงศ์ (11) 62,535
พลังธรรม อินสอน บัวเขียว (1)✔ 51,394
พลังธรรม บัญชา แตงขาวเขียว (2) 21,594
พลังธรรม ยุทธนา ผาแก้ว (3) 15,753
นำไทย ขุนทอง อินทร์ไทย (6) 15,506
ประชาธิปัตย์ โศภณ สุวรรณจันทร์ (8) 13,202
นำไทย ชูชัย เลิศพงศ์อดิศร (5) 5,068
ประชาธิปัตย์ วันชัย สมมุติ (9) 4,783
ประชากรไทย พิกุล คำจา (14) 2,873
ประชากรไทย สำราญ จันทร์กอง (13) 2,530
ประชากรไทย นิติ ไชยบุรี (15) 1,122
บัตรดี
ไม่ประสงค์ลงคะแนน
บัตรเสีย
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง
นำไทย ได้ที่นั่งจาก ชาติไทย
ชาติพัฒนา (พ.ศ. 2535) รักษาที่นั่ง
ชาติพัฒนา (พ.ศ. 2535) รักษาที่นั่ง

เขตเลือกตั้งที่ 3

เขตการเลือกตั้งที่ 3 ประกอบด้วยอำเภอแม่ริม, อำเภอแม่แตง, อำเภอพร้าว และอำเภอสันทราย

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 3 จังหวัดเชียงใหม่
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ชาติพัฒนา (พ.ศ. 2535) สมพงษ์ อมรวิวัฒน์ (3)* 56,958
ความหวังใหม่ กิ่งกาญจน์ ณ เชียงใหม่ (1) 54,029
ชาติพัฒนา (พ.ศ. 2535) จ่าสิบตำรวจ อุดม วรวัลย์ (4)✔ 36,251
ประชาธิปัตย์ ขวัญชัย สกุลทอง (5) 26,222
ประชาธิปัตย์ ประพันธ์ ติ๊บถา (6) 24,087
พลังธรรม มอนอินทร์ รินคำ (11)* 21,721
นำไทย สุจิตร์ ณ วิชัย (7) 17,049
พลังธรรม เกษม พยอมยงค์ (12) 13,373
ความหวังใหม่ ปี แสงเมือง (2) 3,382
ประชากรไทย จิตราภรณ์ หาญจักราพิทักษ์ (10) 1,688
ประชากรไทย ตวงทิพย์ อมรภรณ์พิทักษ์ (9) 1,247
นำไทย พงศ์วัฒนา มุสิกโปดก (8) 756
บัตรดี
ไม่ประสงค์ลงคะแนน
บัตรเสีย
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง
ชาติพัฒนา (พ.ศ. 2535) รักษาที่นั่ง
ความหวังใหม่ ได้ที่นั่งจาก พลังธรรม

เขตเลือกตั้งที่ 4

เขตการเลือกตั้งที่ 4 ประกอบด้วยอำเภอเชียงดาว, อำเภอฝาง, อำเภอแม่อาย, อำเภอไชยปราการ และอำเภอเวียงแหง

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 4 จังหวัดเชียงใหม่
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ชาติพัฒนา (พ.ศ. 2535) ทวีศักดิ์ สุภาศรี (4) 54,496
เอกภาพ มานะ แพรสกุล (7)✔ 45,211
ความหวังใหม่ สันติ ตันสุหัช (1) 35,754
ชาติพัฒนา (พ.ศ. 2535) เจริญ เชาวน์ประยูร (3)* 25,623
ประชาธิปัตย์ ชุ่ม คำลือ (5) 23,444
ประชาธิปัตย์ บุญเรือง การหมั่น (6) 14,039
ความหวังใหม่ บรรยงค์ สุนนท์ชัย (2) 3,477
เอกภาพ จ่าสิบตำรวจ ประมวล บุญเรือง (8) 1,679
ประชากรไทย ผัด เป็นกล (9) 597
ประชากรไทย มูล บุญยืด (10) 316
บัตรดี
ไม่ประสงค์ลงคะแนน
บัตรเสีย
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง
ชาติพัฒนา (พ.ศ. 2535) รักษาที่นั่ง
เอกภาพ ชนะที่นั่ง (เขตเลือกตั้งใหม่)

ดูเพิ่ม

อ้างอิง

  1. ข้อมูล สถิติ และผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร 2 กรกฎาคม พ.ศ. 2538. กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย. 2538
Kembali kehalaman sebelumnya