Share to:

 

จังหวัดเชียงใหม่ในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2518

จังหวัดเชียงใหม่ในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2518

← พ.ศ. 2512 26 มกราคม พ.ศ. 2518 พ.ศ. 2519 →

7 ที่นั่งในสภาผู้แทนราษฎรไทย
ลงทะเบียน599,032
ผู้ใช้สิทธิ59.47%
  First party Second party Third party
 
ผู้นำ หม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช แผ่พืชน์ เทพหัสดิน ณ อยุธยา ดรงค์ สิงห์โตทอง
พรรค ประชาธิปัตย์ ไท (พ.ศ. 2517) สันติชน
ที่นั่งก่อนหน้า 2 พรรคใหม่ พรรคใหม่
ที่นั่งที่ชนะ 4 1 1
ที่นั่งเปลี่ยน เพิ่มขึ้น2 เพิ่มขึ้น1 เพิ่มขึ้น1

  Fourth party Fifth party Sixth party
 
ผู้นำ สมคิด ศรีสังคม โกศล ไกรฤกษ์ ถนอม กิตติขจร
พรรค สังคมนิยมแห่งประเทศไทย อิสระ (พ.ศ. 2512) สหประชาไทย
ที่นั่งก่อนหน้า พรรคใหม่ 1 1
ที่นั่งที่ชนะ 1 0 0
ที่นั่งเปลี่ยน เพิ่มขึ้น1 ลดลง1 ลดลง1

  Seventh party
 
พรรค ไม่สังกัดพรรค
ที่นั่งก่อนหน้า 2
ที่นั่งที่ชนะ 0
ที่นั่งเปลี่ยน ลดลง2

นายกรัฐมนตรีก่อนการเลือกตั้ง

สัญญา ธรรมศักดิ์
อิสระ

นายกรัฐมนตรีหลังการเลือกตั้ง

หม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมช
กิจสังคม

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดเชียงใหม่ พ.ศ. 2518 เป็นส่วนหนึ่งของการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2518 กำหนดให้มีขึ้นในวันที่ 26 มกราคม พ.ศ. 2518 โดยแบ่งเขตการเลือกตั้งออกเป็น 3 เขตเลือกตั้ง มีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้ 7 คน จำนวนที่นั่งเพิ่มจากการเลือกตั้งครั้งก่อนเมื่อ พ.ศ. 2512 1 ที่นั่ง แต่ละเขตเลือกตั้งจะมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้เขตละ 3 คน (สำหรับเขตเลือกตั้งที่ 1) และ 2 คน (สำหรับเขตเลือกตั้งที่ 2 และ 3)[1]

ภาพรวม

ผลการเลือกตั้งแบบแบ่งเขต

เขต 1เขต 2เขต 3

สัญลักษณ์และความหมาย
* ส.ส.ระบบเขตเลือกตั้งที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
** ส.ส.ระบบบัญชีรายชื่อที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
ผู้สมัครที่ถูกตัดสิทธิ์
ผู้สมัครที่เคยดำรงตำแหน่งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรมาแล้ว
( ) หมายเลขประจำตัวของผู้สมัคร
ตัวหนา ผู้สมัครที่ชนะการเลือกตั้ง

เขตเลือกตั้งที่ 1

เขตการเลือกตั้งที่ 1 ประกอบด้วยอำเภอเมืองเชียงใหม่, อำเภอสันกำแพง, อำเภอสันทราย, อำเภอสารภี, อำเภอดอยสะเก็ด และอำเภอแม่ริม

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 1 จังหวัดเชียงใหม่
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ประชาธิปัตย์ ทองดี อิสราชีวิน (1)* 46,110
ไท (พ.ศ. 2517) ธวัชชัย นามวงศ์พรหม (19) 33,144
สันติชน ปรีดา พัฒนถาบุตร (12)* 25,698
ประชาธิปัตย์ อินทร์สม ไชยซาววงศ์ (3) 23,874
เกษตรสังคม นิคม ดำรงกิจเกษตร (16) 23,684
เกษตรสังคม มอนอินทร์ รินคำ (15) 22,554
ประชาธิปัตย์ บวร ชุติมา (2) 19,893
ไท (พ.ศ. 2517) สันต์ อารีหนู (20) 16,362
กิจสังคม เจริญ เชาวน์ประยูร (5) 15,090
สังคมชาตินิยม เลิศ ชินวัตร (7)* 14,242
สังคมชาตินิยม ณรงค์ วงศ์สวัสดิ์ (8) 13,120
กิจสังคม ชัชวาล ชุติมา (4) 11,647
ชาติไทย รำพัน อินทวงศ์ (14) 11,356
ชาติไทย อุสุม นิมมานเหมินท์ (13) 11,342
กิจสังคม ทอง คันธา (6) 10,249
ธรรมสังคม เจ้าบุญเลิศ ณ เชียงใหม่ (11)* 8,863
ธรรมสังคม ร้อยโท ราศรี สิงหเนตร (10)✔ 6,772
ธรรมสังคม สุวิชช พันธเศรษฐ (9)✔ 6,145
ฟื้นฟูชาติไทย พินิจ ชินชัย (21) 5,087
เกษตรกร (พ.ศ. 2517) จันทร์แก้ว แสงคำ (17) 4,752
เกษตรกร (พ.ศ. 2517) หิรัญ คันธา (18) 4,643
ฟื้นฟูชาติไทย วิโรจน์ ประกอบกิจ (22) 1,712
บัตรดี
ไม่ประสงค์ลงคะแนน
บัตรเสีย
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง
ประชาธิปัตย์ ได้ที่นั่งจาก ไม่สังกัดพรรค
ไท (พ.ศ. 2517) ได้ที่นั่งจาก อิสระ (พ.ศ. 2512)
สันติชน ได้ที่นั่งจาก สหประชาไทย

เขตเลือกตั้งที่ 2

เขตการเลือกตั้งที่ 2 ประกอบด้วยอำเภอสะเมิง, อำเภอแม่แตง, อำเภอเชียงดาว, อำเภอพร้าว, อำเภอฝาง และอำเภอแม่อาย

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 2 จังหวัดเชียงใหม่
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ประชาธิปัตย์ ไกรสร ตันติพงศ์ (6)* 49,879
ประชาธิปัตย์ อารีย์ วีระพันธุ์ (7) 32,099
กิจสังคม ทองชอบ กินาวงศ์ (4) 21,470
กิจสังคม อินทร์สวน ไชยซาววงศ์ (5) 14,182
ธรรมสังคม โชคชัย สารากิจ (2) 12,336
ธรรมสังคม อำนวย กรัมพัด (10) 11,690
ธรรมสังคม ปราณี ศิริธร (1) 8,324
แรงงาน (ประเทศไทย) หม่อมราชวงศ์ ปริวัฒย์ เกษมศรี (3) 6,159
ชาติไทย ปรีชา ดวงจิตร์ (9) 5,111
ชาติไทย มณี วงศ์เครือมั่น (8) 4,785
สันติชน ร้อยเอก กระสินธุ์ ไกรชิงฤทธิ์ (11) 3,413
บัตรดี
ไม่ประสงค์ลงคะแนน
บัตรเสีย
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง
ประชาธิปัตย์ รักษาที่นั่ง
ประชาธิปัตย์ ชนะที่นั่ง (เขตเลือกตั้งใหม่)

เขตเลือกตั้งที่ 3

เขตการเลือกตั้งที่ 3 ประกอบด้วยอำเภอหางดง, อำเภอสันป่าตอง, อำเภอจอมทอง, อำเภอฮอด, อำเภอแม่แจ่ม, อำเภออมก๋อย และกิ่งอำเภอดอยเต่า

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 3 จังหวัดเชียงใหม่
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
สังคมนิยมแห่งประเทศไทย อินสอน บัวเขียว (9) 35,092
ประชาธิปัตย์ ส่งสุข ภัคเกษม (4) 35,045
ประชาธิปัตย์ วรศักดิ์ นิมานันท์ (3)* 15,975
สังคมชาตินิยม พิรุณ อินทราวุธ (5)✔ 15,611
กิจสังคม ศรีมุกข์ ติลผานันท์ (2) 12,724
กิจสังคม สุทน ปันทวงศ์ (1) 12,699
สังคมชาตินิยม สมบูรณ์ สุรินต๊ะ (6) 9,379
พลังใหม่ พิจิตร พิชัยพรหม (8) 8,306
ธรรมสังคม เฉลิม เหลือโกศล (10) 5,834
ราษฎร (พ.ศ. 2517) อุตสาหะ อุทัย ศาตมัย (13) 1,677
ธรรมสังคม พันตรี สมพล ผลวัฒนะ (7) 1,335
เสรีชน วีระศักดิ์ เทศกาล (12) 1,156
อธิปัตย์ พันตำรวจโท ชาญชัย พุ่มพฤกษ์ (11) 1,105
บัตรดี
ไม่ประสงค์ลงคะแนน
บัตรเสีย
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง
สังคมนิยมแห่งประเทศไทย ได้ที่นั่งจาก ไม่สังกัดพรรค
ประชาธิปัตย์ รักษาที่นั่ง

ดูเพิ่ม

อ้างอิง

  1. รายงานผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร 26 มกราคม 2518. กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย. 2518
Kembali kehalaman sebelumnya