จังหวัดเชียงใหม่ในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2562
การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดเชียงใหม่ พ.ศ. 2562 เป็นส่วนหนึ่งของการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2562 กำหนดให้มีขึ้นในวันที่ 24 มีนาคม พ.ศ. 2562 โดยแบ่งเขตการเลือกตั้งออกเป็น 9 เขตเลือกตั้ง[1] ซึ่งลดลงจากการเลือกตั้งครั้งก่อน 1 เขต แต่ละเขตเลือกตั้งจะมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้เขตละ 1 คน
ภาพรวม
แบ่งตามพรรค
พรรค |
จำนวน ผู้สมัคร |
คะแนนเสียง |
ที่นั่ง
|
จน. |
% |
จน. |
+/– |
%
|
|
เพื่อไทย |
9 |
381,292 |
37.81% |
8 |
2 |
88.89%
|
|
อนาคตใหม่ |
9 |
254,097 |
25.20% |
1 |
1 |
11.11%
|
|
พลังประชารัฐ |
9 |
204,080 |
20.24% |
0 |
|
0.00%
|
|
อื่น ๆ |
282 |
168,862 |
16.75% |
0 |
|
0.00%
|
ผลรวม |
309 |
1,008,331 |
100.00% |
9 |
1 |
100.00%
|
แบ่งตามเขต
เขตเลือกตั้ง
สัญลักษณ์และความหมาย
|
* |
ส.ส.ระบบเขตเลือกตั้งที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
|
** |
ส.ส.ระบบบัญชีรายชื่อที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
|
† |
ผู้สมัครที่ถูกตัดสิทธิ์
|
✔ |
ผู้สมัครที่เคยดำรงตำแหน่งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรมาแล้ว
|
( ) |
หมายเลขประจำตัวของผู้สมัคร
|
ตัวหนา |
ผู้สมัครที่ชนะการเลือกตั้ง
|
เขต 1
เขตเลือกตั้งที่ 1 ประกอบด้วยอำเภอเมืองเชียงใหม่
เขต 2
เขตเลือกตั้งที่ 2 ประกอบด้วยอำเภอหางดงและอำเภอสารภี
เขต 3
เชตเลือกตั้งที่ 3 ประกอบด้วยอำเภอสันกำแพง อำเภอแม่ออนและอำเภอดอยสะเก็ด
เขต 4
เขตเลือกตั้งที่ 4 ประกอบด้วยอำเภอสันทราย อำเภอพร้าวและอำเภอแม่แตง (เฉพาะตำบลแม่หอพระ)
เขต 5
เขตเลือกตั้งที่ 5 ประกอบด้วยอำเภอกัลยาณิวัฒนา อำเภอสะเมิง อำเภอแม่ริมและอำเภอแม่แตง (ยกเว้นตำบลแม่หอพระ)
เขต 6
เขตเลือกตั้งที่ 6 ประกอบด้วยอำเภอเชียงดาว อำเภอเวียงแหงและอำเภอไชยปราการ
เขต 7
เขตเลือกตั้งที่ 7 ประกอบไปด้วยอำเภอฝางและอำเภอแม่อาย
เขต 8
เขตเลือกตั้งที่ 8 ประกอบด้วยอำเภอสันป่าตอง อำเภอแม่วาง อำเภอดอยหล่อและอำเภอจอมทอง
เขต 9
เขตเลือกตั้งที่ 9 ประกอบด้วยอำเภอแม่แจ่ม อำเภอฮอด อำเภอดอยเต่าและอำเภออมก๋อย
การเลือกตั้งใหม่
เขตเลือกตั้งที่ 8
วันที่ 24 เมษายน 2562 ที่ประชุมคณะกรรมการการเลือกตั้ง (กกต.) มีมติสั่งเพิกถอนสิทธิสมัครของ นายสุรพล เกียรติไชยากร ว่าที่ ส.ส.เขต 8 เชียงใหม่ พรรคเพื่อไทยไว้เป็นการชั่วคราวเป็นเวลา 1 ปี (การแจกใบส้ม) และมติดังกล่าวมีผลให้ กกต. ต้องสั่งเลือกตั้งใหม่ในเขตเลือกตั้งที่ 8 จังหวัดเชียงใหม่ โดยกำหนดวันเลือกตั้งใหม่คือวันที่ 26 พฤษภาคม 2562
ซึ่งในกรณีที่ถูกใบส้มและต้องเลือกตั้งใหม่ ผู้สมัครเดิมในเขตจากทุกพรรคจะเข้าสู่การเลือกตั้งใหม่อีกครั้งยกเว้นนายสุรพล เกียรติไชยากร และพรรคเพื่อไทยไม่สามารถส่งผู้สมัครคนใหม่ลงแทนได้[2]
ทั้งนี้ หลังจากที่ผู้ได้รับเลือกตั้งซ่อม นางสาวศรีนวล บุญลือ ถูกขับออกจากพรรคอนาคตใหม่ เมื่อวันที่ 16 ธันวาคม พ.ศ. 2562 ได้ย้ายเข้าสังกัดพรรคภูมิใจไทยในเวลาต่อมา[3]
ผลการเลือกตั้งใหม่สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดเชียงใหม่ เขต 8
|
พรรค
|
ผู้สมัคร
|
คะแนนเสียง
|
%
|
±
|
|
อนาคตใหม่
|
ศรีนวล บุญลือ (9)
|
75,891
|
63.43
|
+41.45
|
|
พลังประชารัฐ
|
นเรศ ธำรงค์ทิพยคุณ (4)
|
27,861
|
23.29
|
-5.88
|
|
ภราดรภาพ
|
วชิรวิทย์ หลวงมณีวรรณ์ (17)
|
2,772
|
2.32
|
+2.22
|
|
เพื่อชาติ
|
ทักษิณ กันทา (14)
|
2,291
|
1.91
|
+1.64
|
|
เสรีรวมไทย
|
พัณณาศีส น้อยนางจม (1)
|
2,044
|
1.71
|
+0.32
|
|
ประชาธิปัตย์
|
วรณัน อ้นท้วม (2)
|
1,738
|
1.45
|
-0.42
|
|
พลังท้องถิ่นไท
|
พชรพร สุใจคำ (5)
|
1,236
|
1.03
|
+0.63
|
|
เศรษฐกิจใหม่
|
ธนพัฒน์ ปฏิกา (29)
|
699
|
0.58
|
-0.35
|
|
พลังรัก
|
อินทิรา บุตรดวงติ๊บ (24)
|
609
|
0.51
|
-0.14
|
|
ประชาภิวัฒน์
|
บุญสม หลุยจำวัล (12)
|
458
|
0.38
|
+0.29
|
|
ภูมิใจไทย
|
สุทัศน์ สุทัศนรักษ์ (6)
|
404
|
0.34
|
-0.16
|
|
พลังปวงชนไทย
|
กชพรรณ เขียวเหมย (18)
|
403
|
0.34
|
-0.25
|
|
รวมพลังประชาชาติไทย
|
คณาชุพงษ์ ผดุงกิจ (10)
|
383
|
0.32
|
+0.14
|
|
ประชาชาติ
|
ไตรวิทย์ แซ่ยะ (13)
|
347
|
0.29
|
-0.15
|
|
ครูไทยเพื่อประชาชน
|
จำนงค์ อภิญดา (16)
|
325
|
0.27
|
+0.10
|
|
รักษ์ผืนป่าประเทศไทย
|
จรูญ กันทา (3)
|
284
|
0.24
|
-0.09
|
|
ชาติพันธุ์ไทย
|
พันตำรวจโท พัชรพงษ์ อัครเมธากุล (21)
|
258
|
0.22
|
+0.14
|
|
ประชาธรรมไทย
|
สโรชา แดงโชติ (31)
|
250
|
0.21
|
+0.12
|
|
พลังชาติไทย
|
ปานสิริ แสงคง (7)
|
232
|
0.19
|
-0.18
|
|
พลังธรรมใหม่
|
ธีระยุทธ ไชยวงค์ (11)
|
175
|
0.15
|
+0.02
|
|
กรีน
|
จรูญ เจอพิมาน (23)
|
175
|
0.15
|
-0.09
|
|
เครือข่ายชาวนาแห่งประเทศไทย
|
พรชัย ต๊ะวันวงค์ (26)
|
174
|
0.15
|
-0.28
|
|
พลังไทยรักไทย
|
สินาด กรีทวี (33)
|
136
|
0.11
|
+0.01
|
|
ชาติไทยพัฒนา
|
ศรีสุดา รัตนจริงใจ (25)
|
82
|
0.07
|
-0.03
|
|
ประชากรไทย
|
วิไลพร วรรณธิกุล (28)
|
80
|
0.07
|
-0.27
|
|
รวมใจไทย
|
อนิวรรต ไชยวิลาศ (22)
|
73
|
0.06
|
+0.01
|
|
พลังสหกรณ์
|
ปริญญา ด่านชัย (19)
|
61
|
0.05
|
+0.01
|
|
มหาชน
|
เกรียงไกร อินตาเปี้ย (27)
|
59
|
0.05
|
+0.01
|
|
ประชานิยม
|
ศรัญย์ ปัญญา (15)
|
49
|
0.04
|
-0.02
|
|
ประชาชนปฏิรูป
|
ดาบตำรวจ สมพร จันท์ตะพาน (20)
|
46
|
0.04
|
0.00
|
|
ไทรักธรรม
|
ชวลิต ศรีทอง (32)
|
33
|
0.03
|
-0.01
|
|
เพื่อไทย
|
สุรพล เกียรติไชยากร (8)
|
–
|
–
|
–
|
|
แทนคุณแผ่นดิน
|
สุทธิพร หลวงยศ (30)†
|
–
|
–
|
–
|
ผลรวม
|
119,636
|
100.00
|
—
|
|
บัตรดี
|
119,636
|
93.59
|
–
|
ไม่ประสงค์ลงคะแนน
|
1,280
|
1.00
|
–
|
บัตรเสีย
|
6,916
|
5.41
|
–
|
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง
|
127,832
|
78.26
|
–
|
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง
|
163,343
|
100.00
|
—
|
|
อนาคตใหม่
ได้ที่นั่งจาก เพื่อไทย
|
ดูเพิ่ม
อ้างอิง
แหล่งข้อมูลอื่น
|
---|
เลือกตั้งทั่วไป | |
---|
เลือกตั้งซ่อม | |
---|
|