Share to:

 

พระรามอินทรา (ดวง จุลัยยานนท์)

พลตำรวจโท
พระรามอินทรา
(ดวง รามอินทรา)
อธิบดีกรมตำรวจ
ดำรงตำแหน่ง
12 พฤศจิกายน 2488 – 1 ธันวาคม 2489
ก่อนหน้าพลตำรวจเอก อดุล อดุลเดชจรัส
ถัดไปพลตำรวจตรี พระพิจารณ์พลกิจ
ปลัดกระทรวงมหาดไทย
ดำรงตำแหน่ง
1 ธันวาคม 2489 – 27 ตุลาคม 2490
ก่อนหน้าพระยาอรรถกรมมณุตตี
ถัดไปร้อยเอก ขุนพิพัฒน์สรการ
ข้อมูลส่วนบุคคล
เกิด27 มีนาคม พ.ศ. 2433
ตำบลต้นม่วง อำเภอเมืองเพชรบุรี เมืองเพชรบุรี
เสียชีวิต3 กรกฎาคม พ.ศ. 2498 (65 ปี)
ศาสนาพุทธ
คู่สมรสคุณหญิงปานใจ รามอินทรา

พลตำรวจโท พระรามอินทรา นามเดิม ดวง รามอินทรา (สกุลเดิม จุลัยยานนท์; 27 มีนาคม พ.ศ. 2433 – 3 กรกฎาคม พ.ศ. 2498) อดีตอธิบดีกรมตำรวจ คนที่ 6 และอดีตปลัดกระทรวงมหาดไทยคนที่ 11

ประวัติ

พลตำรวจโท พระรามอินทรา (ดวง รามอินทรา) เกิดเมื่อวันที่ 27 มีนาคม พ.ศ. 2432 (นับแบบปัจจุบันคือปี พ.ศ. 2433) ที่ตำบลต้นม่วง อำเภอเมือง จังหวัดเพชรบุรี เป็นบุตรของนายขลิบและนางกรอง จุลัยยานนท์[1] สมรสกับคุณหญิงปานใจ (สกุลเดิม ศิริไพบูลย์) ซึ่งเป็นป้าของคุณหญิงวิมล ศิริไพบูลย์ หรือทมยันตี[2][ต้องการแหล่งอ้างอิงดีกว่านี้]

รับราชการ

  • ผู้ช่วยผู้บังคับการตำรวจภูธรมณฑลนครชัยศรี
  • 15 ตุลาคม พ.ศ. 2471 – รั้งผู้บังคับการตำรวจภูธรมณฑลนครชัยศรี[3]
  • 26 เมษายน พ.ศ. 2472 – ผู้บังคับการตำรวจภูธรมณฑลนครชัยศรี[4]
  • 1 เมษายน พ.ศ. 2475 – ผู้บังคับการตำรวจภูธรมณฑลราชบุรี[5]
  • 17 พฤศจิกายน พ.ศ. 2475 – ผู้บังคับการตำรวจภูธรภาคกลาง[6]
  • 16 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2476 – จเรตำรวจภูธรภาค 1[7]
  • 11 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2487 – ข้าหลวงนครบาลกรุงเทพธนบุรี[8]
  • 1 ธันวาคม พ.ศ. 2487 – อธิบดีกรมมหาดไทย[9]
  • อธิบดีกรมตำรวจ (12 พฤศจิกายน พ.ศ. 2488 – 1 ธันวาคม พ.ศ. 2489)[10][11]
  • ปลัดกระทรวงมหาดไทย (1 ธันวาคม พ.ศ. 2489 – 27 ตุลาคม พ.ศ. 2490)[12][13]

ยศและบรรดาศักดิ์

  • 30 พฤษภาคม พ.ศ. 2456 – ร้อยตำรวจตรี[14]
  • 26 เมษายน พ.ศ. 2458 – ร้อยตำรวจโท[15]
  • 14 มิถุนายน พ.ศ. 2458 – นายหมวดตรี[16]
  • 17 ธันวาคม พ.ศ. 2461 – นายหมวดโท[17]
  • 20 ธันวาคม พ.ศ. 2461 – ร้อยตำรวจเอก[18]
  • 26 เมษายน 2463 – โปรดเกล้าฯ ให้กระทรวงนครบาลส่งสัญญาบัตรยศไปพระราชทาน[19]
  • 28 สิงหาคม พ.ศ. 2463 – ขุนรามอินทรา ถือศักดินา 400[20]
  • 8 พฤศจิกายน 2463 – นายหมวดเอก[21]
  • 25 พฤศจิกายน 2463 – ส่งสัญญาบัตรบรรดาศักดิ์ไปพระราชทาน[22]
  • 8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2471 – พันตำรวจตรี[23]
  • 10 พฤศจิกายน พ.ศ. 2472 – หลวงรามอินทรา ถือศักดินา ๖๐๐[24]
  • 8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2473 – พันตำรวจโท[25]
  • 8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2474 – พระรามอินทรา ถือศักดินา ๘๐๐[26]
  • 3 พฤษภาคม พ.ศ. 2477 – พันตำรวจเอก[27]
  • 19 มิถุนายน พ.ศ. 2484 – พลตำรวจตรี[28]
  • 26 เมษายน พ.ศ. 2489 – พลตำรวจโท[29]

เครื่องราชอิสริยาภรณ์

อ้างอิง

  1. พระรามอินทรา (ดวง รามอินทรา) ,พล.ต.ท.[ลิงก์เสีย]
  2. วิศวนาถ, วิศวนาถ. กว่าจะถึงวันนี้ของทมยันตี. ณ บ้านวรรณกรรม. ISBN 9789744468604.
  3. แจ้งความกระทรวงมหาดไทย เรื่อง ปลดและตั้งผู้บังคับการตำรวจภูธร
  4. แจ้งความกระทรวงมหาดไทย เรื่องให้นายพันตำรวจตรี ขุนรามอินทรา เป็นผู้บังคับการ
  5. แจ้งความกระทรวงมหาดไทย (หน้า ๕๐๓๙)
  6. ประกาศประธานคณะกรรมการราษฎร ปลดตั้งและย้ายนายตำรวจ (หน้า ๔๙๖)
  7. แจ้งความสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง บรรจุนายตำรวจ
  8. ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง แต่งตั้งข้าหลวงนครบาลกรุงเทพธนบุรี
  9. ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง แต่งตั้งอธิบดีกรมมหาดไทย
  10. ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง แต่งตั้งอธิบดีกรมตำรวจ
  11. ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง แต่งตั้งปลัดกระทรวงมหาดไทย
  12. ปลัดทูลฉลองและปลัดกระทรวงมหาดไทยในอดีต เก็บถาวร 2021-07-27 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน. จากเว็บไซต์กระทรวงมหาดไทย.
  13. ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง แต่งตั้งปลัดกระทรวงมหาดไทย
  14. ตั้งตำแหน่งยศนายทหารกรมตำรวจภูธร (หน้า ๔๘๕)
  15. พระราชทานยศนายตำรวจภูธร (หน้า ๒๙๓)
  16. พระราชทานสัญญาบัตรยศเสือป่า
  17. พระราชทานยศเสือป่า
  18. พระราชทานยศ (หน้า ๒๔๗๙)
  19. ส่งสัญญาบัตรยศตำรวจภูธรและตำรวจพระนครบาลไปพระราชทาน
  20. "พระราชทานบรรดาศักดิ์" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 5 กันยายน 1920.
  21. พระราชทานยศนายเสือป่า
  22. ส่งสัญญาบัตรบรรดาศักดิ์ไปพระราชทาน
  23. พระราชทานยศพลเรือน (หน้า ๒๔๕๓)
  24. พระราชทานบรรดาศักดิ์ (หน้า ๒๘๘๙)
  25. พระราชทานยศ (หน้า ๒๙๕๐)
  26. พระราชทานยศ (หน้า ๓๐๒๑)
  27. ประกาศ พระราชทานยศตำรวจ
  28. ประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง พระราชทานยศตำรวจ
  29. พระราชทานยศตำรวจ
  30. ราชกิจจานุเบกษา, แจ้งความสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์, เล่ม ๖๐ ตอนที่ ๔๙ ง หน้า ๒๙๒๑, ๑๘ กันยายน ๒๔๘๖
  31. ราชกิจจานุเบกษา, แจ้งความสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์, เล่ม ๕๙ ตอนที่ ๖๑ ง หน้า ๒๓๑๐, ๑๘ กันยายน ๒๔๘๕
  32. ราชกิจจานุเบกษา, แจ้งความสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเหรียญชัยสมรภูมิ, เล่ม ๕๘ ตอนที่ ๐ ง หน้า ๒๗๕๐, ๓๐ สิงหาคม ๒๔๘๔
  33. ราชกิจจานุเบกษา, แจ้งความสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเหรียญชัยสมรภูมิ, เล่ม ๖๑ ตอนที่ ๓๒ ง หน้า ๘๗๙, ๒๓ พฤษภาคม ๒๔๘๗
  34. ราชกิจจานุเบกษา, บัญชีรายนาม ผู้ที่ได้รับพระราชทานเหรียญพิทักษ์รัฐธรรมนูญ, เล่ม ๕๒ ตอนที่ ๐ ง หน้า ๖๑๐, ๙ มิถุนายน ๒๔๗๘
  35. ราชกิจจานุเบกษา, ส่งเหรียญราชอิสริยาภรณ์ไปพระราชทาน, เล่ม ๔๔ ตอนที่ ๐ ง หน้า ๖๘๖, ๕ มิถุนายน ๒๔๗๐
  36. ราชกิจจานุเบกษา, แจ้งความสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเหรียญรัตนาภรณ์, เล่ม ๕๕ ตอนที่ ๐ ง หน้า ๓๖๐๘, ๒๓ มกราคม ๒๔๘๑
ก่อนหน้า พระรามอินทรา (ดวง จุลัยยานนท์) ถัดไป
พลตำรวจเอก
อดุล อดุลเดชจรัส
ไฟล์:ตราผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ.png
อธิบดีกรมตำรวจ คนที่ 11
(2488 – 2489)
พลตำรวจตรี
พระพิจารณ์พลกิจ
Kembali kehalaman sebelumnya