มาเลเซียเชื้อสายจีน กลุ่มชนเชื้อสายจีนในชุด
ชานกู้ กับ
ร่ม ป. ค.ศ. 1945 ประชากรทั้งหมด 6,712,200 22.4% ชองประชากรมาเลเซียทั้งหมด (2021)ภูมิภาคที่มีประชากรอย่างมีนัยสำคัญ มาเลเซีย รัฐปีนัง , รัฐเกอดะฮ์ , รัฐปะลิส , กัวลาลัมเปอร์ , รัฐยะโฮร์ , รัฐเปรัก , รัฐเซอลาโงร์ , รัฐเนอเกอรีเซิมบีลัน , รัฐปะหัง , รัฐมะละกา , รัฐกลันตัน , รัฐตรังกานู , รัฐซาราวัก , รัฐซาบะฮ์ กลุ่มคนพลัดถิ่นที่สำคัญพบใน: ออสเตรเลีย เกาะคริสต์มาส [ 3] สิงคโปร์ (338,500 คนใน ค.ศ. 2010) นิวซีแลนด์ [ หมายเหตุ 1] สหรัฐอเมริกา แคนาดา สหราชอาณาจักร ไต้หวัน ฮ่องกง [ 6] จีน ภาษา จีนกลาง (ภาษากลาง), มลายู และอังกฤษ เป็นภาษาที่ใช้สื่อสารในโรงเรียนและรัฐบาลภาษาแม่ : ฮกเกี้ยน , กวางตุ้ง , ฮากกา , แต้จิ๋ว , ฝูโจว , ไห่หนาน , ไถชาน และHenghua ; Manglish (ครีโอล)ศาสนา ส่วนใหญ่ พุทธนิกายมหายาน และลัทธิเต๋า (ศาสนาชาวบ้านจีน ) • คริสต์ (โรมันคาทอลิก , โปรเตสแตนต์ ) • ไม่นับถือศาสนาส่วนน้อย อิสลาม • ฮินดู กลุ่มชาติพันธุ์ที่เกี่ยวข้อง Bruneian Chinese · Singaporean Chinese · Indonesian Chinese · ชาวไทยเชื้อสายจีน · เปอรานากัน · ชาวจีนโพ้นทะเล
ชาวมาเลเซียเชื้อสายจีน (จีนตัวย่อ : 马来西亚华人 ; จีนตัวเต็ม : 馬來西亞華人 ; มลายู : Orang Cina Malaysia ) เป็นชาวจีน เชื้อสายฮั่น ซึ่งอาศัยหรือเกิดในประเทศมาเลเซีย คนกลุ่มนี้เป็นลูกหลานเชื้อสายจีนซึ่งอพยพเข้ามาในมาเลเซียเมื่อช่วงต้นคริสต์ศตวรรษที่ 19 และในช่วงกลางคริสต์ศตวรรษที่ 20[ 7] [ 8] ชาวมาเลเซียเชื้อสายจีนมีบทบาทสำคัญในเศรษฐกิจมาเลเซีย เป็นอย่างมาก[ 9] [ 10]
ชาวมาเลเซียเชื้อสายจีนเป็นกลุ่มชาวจีนโพ้นทะเล ที่ใหญ่ที่สุดเป็นอันดับ 2 ของโลกรองจากประเทศไทย และรองจากกลุ่มชาวมาเลย์ ในประเทศมาเลเซีย ส่วนมากพูดภาษาจีนสำเนียงต่างๆ เช่น ภาษาจีนหมิ่น ภาษาจีนกวางตุ้ง ภาษาจีนแคะ และภาษาจีนแต้จิ๋ว
ปัจจุบันจำนวนประชากรที่เป็นชาวมาเลเซียเชื้อสายจีนลดลงมากหลังจากการประกาศเอกราชมาลายา โดยลดลงจาก 37.6% ในปี ค.ศ. 1957 จนเหลือเพียง 24.6% ในปี ค.ศ. 2010 และเหลือเพียง 21.4% ในปี ค.ศ. 2015[ 11]
ประวัติศาสตร์
ประชากรศาสตร์
ทั่วประเทศ
ตามประวัติศาสตร์
Historical demographics of Chinese in Malaya/Malaysia
Year
1835[ 12]
1911[ 13]
1931[ 14]
1947[ 15]
1957[ 15]
1970[ 15]
1980[ 13]
1991
2000[ 16]
2010[ 17] [ 18]
2016[ 19]
Population
29,000
1,285,000
1,871,000
2,398,000
3,274,000
4,623,900
5,691,900
6,400,000
6,650,000
Percentage
7.7%
29.6%
33.9%
38.4%
37.6%
35.8%
33.4%
28.1%
26.1%
24.6%
23.4%
ตามรัฐและดินแดน
State
Population
2010[ 20]
2015[ 21]
Population
Percentage
Population
Percentage
Johor (柔佛 )
1,034,713
30.9%
1,075,100
30.2%
Kedah (吉打 )
255,628
13.1%
263,200
12.7%
Kelantan (吉兰丹 )
51,614
3.4%
54,400
3.2%
Malacca (马六甲 )
207,401
25.3%
215,000
24.6%
Negeri Sembilan (森美兰 )
223,271
21.9%
234,300
21.3%
Pahang (彭亨 )
230,798
15.4%
241,600
14.9%
Perak (霹雳 )
693,397
29.5%
713,000
28.8%
Penang (槟城 )
670,400
42.9%
689,600
41.5%
Perlis (玻璃市 )
17,985
7.8%
19,200
7.8%
Sabah (沙巴 )
295,674
9.2%
311,500
8.8%
Sarawak (砂拉越 )
577,646
23.4%
602,700
22.9%
Selangor (雪兰莪 )
1,441,774
26.4%
1,499,400
25.5%
Terengganu (登嘉楼 )
26,429
2.6%
27,700
2.4%
Kuala Lumpur (吉隆坡 )
655,413
39.1%
684,100
38.7%
Labuan (纳闽 )
10,014
11.5%
10,700
11.1%
Putrajaya (布城 )
479
0.7%
500
0.6%
Malaysia total
6,392,636
22.6%
6,642,000
21.8%
หมายเหตุ: จำนวนประชากรที่คาดการณ์ในปี ค.ศ. 2015 ถูกปัดเศษให้เป็นจำนวนเต็มร้อยที่มีค่าใกล้เคียงที่สุด
ระบบการศึกษาและการรู้ภาษา
ชาวมาเลเซียเชื้อสายจีนส่วนใหญ่มักพูดภาษาจีนได้อย่างน้อยหนึ่งสำเนียง รวมทั้งภาษาอังกฤษและภาษามาเลย์ โดยความถนัดทางภาษาของแต่ละคนจะแตกต่างกันไปตามรูปแบบและระดับของการศึกษาที่แต่ละคนได้รับ
รูปแบบการศึกษา
ชาวมาเลเซียเชื้อสายจีนได้รับการศึกษาแตกต่างกัน โดยมีรูปแบบอยู่ด้วยกันทั้งหมด 3 รูปแบบ คือรูปแบบการศึกษาที่ใช้แต่ละภาษาเป็นหลัก ซึ่งประกอบด้วยภาษาอังกฤษ ภาษามาเลย์ และภาษาจีน
ระดับการศึกษา
วัฒนธรรม
การเรียกชื่อบุคคล
แบบไม่ใช่ภาษาจีนกลาง
ในช่วงก่อนที่ภาษาจีนกลางจะได้รับความนิยมในหมู่ชาวมาเลเซียเชื้อสายจีนในช่วงปลายคริสต์ศตวรรษที่ 20 ชาวมาเลเซียเชื้อสายจีนมักเขียนชื่อภาษาอังกฤษของตนเองตามการออกเสียงในภาษาจีนสำเนียงที่ตนพูด
แบบภาษาจีนกลาง
เมื่อภาษาจีนกลางได้รับความนิยมในหมู่ชาวมาเลเซียเชื้อสายจีนมากขึ้นในยุคหลัง ชาวมาเลเซียเชื้อสายจีนส่วนมากมักเขียนชื่อภาษาอังกฤษของตนเองตามการออกเสียงในภาษาจีนกลาง โดยมักเขียนตามสัทอักษรพินอิน
แบบภาษาอังกฤษ
ชาวมาเลเซียเชื้อสายจีนบางคนมักเขียนชื่อที่มาจากภาษาอังกฤษ โดยมักเขียนนำหน้าชื่อภาษาจีน
แบบมุสลิม
ตามหลักศาสนาอิสลาม ผู้ที่ไม่ได้นับถือศาสนาอิสลามซึ่งหากต้องการแต่งงานกับผู้ที่นับถือศาสนาอิสลามจะต้องเปลี่ยนมานับถือศาสนาอิสลามด้วย ด้วยเหตุนี้จึงมีชาวมาเลเซียเชื้อสายจีนบางคนที่ใช้ชื่อแบบมุสลิม หรือชื่อแบบภาษาอาหรับด้วย
อาหาร
ฉ่าก๋วยเตี๋ยว
อาหารของชาวมาเลเซียเชื้อสายจีนมีความคล้ายคลึงกับอาหารจีนในจีน ไต้หวัน และฮ่องกงเป็นอย่างมาก โดยได้รับอิทธิพลจากอาหารมาเลย์และอินเดีย ซึ่งมักมีรสเผ็ด
ศาสนา
ชาวมาเลเซียเชื้อสายจีนส่วนมากนับถือศาสนาพุทธ และศาสนาพื้นบ้านจีน อื่นๆ ซึ่งได้รับอิทธิพลมาจากจีนและนับถือกันมาเรื่อยๆ จนถึงรุ่นลูกรุ่นหลานในยุคปัจจุบัน รองลงมาคือศาสนาคริสต์ ศาสนาอิสลาม และศาสนาอื่นๆ
หมายเหตุ
↑ Of the 8,820 Malaysian-born people resident in New Zealand in 1991, only 1,383 were Malay ; most of the rest were Chinese Malaysians. In the 2013 New Zealand census , 16,350 people were born in Malaysia. Of these, more than five-eighths gave their ethnicity as Chinese or Malaysian Chinese. The next most numerous were Malays, with smaller groups of Indians and other Asian peoples .
อ้างอิง
↑ Department of Infrastructure and Regional Development Australia 2016 , p. 2. sfn error: no target: CITEREFDepartment_of_Infrastructure_and_Regional_Development_Australia2016 (help )
↑ About 15,000 Malaysians now live in Hong Kong, according to the Consulate-General. Though the Consulate does not record what state they come from, Penangites are widely thought to be the largest group in the city.
↑ "AsiaExplorers - Visit, Discover & Enjoy Asia!" . คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม เมื่อ 22 กุมภาพันธ์ 2014.
↑ "History of Malaysia - Lonely Planet Travel Information" . Lonelyplanet.com . คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม เมื่อ 2017-10-10. สืบค้นเมื่อ 2019-03-31 .
↑ "Malaysia country profile" . BBC . 10 May 2018.
↑ Terence Gomez (22 February 1999). Chinese Business in Malaysia: Accumulation, Accommodation and Ascendance . Routledge. ISBN 978-0700710935 .
↑ Ho Wah Foon (28 February 2016). "Chinese may fall to third spot soon" .
↑ In-Won Hwang (2003-10-13). Personalized Politics: The Malaysian State Under Mahathir . Institute of Southeast Asian Studies. pp. 21–22. ISBN 9789812301864 .
↑ 13.0 13.1 Saw Swee Hock (30 January 2007). The Population of Peninsular Malaysia . ISEAS Publishing. p. 65. ISBN 978-9812304278 .
↑ Dorothy Z. Fernandez, Amos H. Hawley, Silvia Predaza. The Population of Malaysia (PDF) . CICRED series. {{cite book }}
: CS1 maint: uses authors parameter (ลิงก์ )
↑ 15.0 15.1 15.2 Charles Hirschman (March 1980). "Demographic Trends in Peninsular Malaysia 1937-1970" (PDF) . Population and Development Review . 6 (1): 103–125. doi :10.2307/1972660 . JSTOR 1972660 .
↑ Prof. Dato' Dr Asmah Haji Omar, edt: "Encyclopedia of Malaysia - Languages and Literature เก็บถาวร 12 มกราคม 2007 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน ", pp 52-53, Kuala Lumpur: Editions Didier Millet, 2004, ISBN 981-3018-52-6
↑ Slightly more men than women in Malaysian population . Thestar.com.my. Retrieved on 23 April 2012.
↑ Population Distribution and Basic Demographic Characteristic Report 2010 (Updated: 05/08/2011 - Corrigendum) เก็บถาวร 24 สิงหาคม 2011 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน . Statistics.gov.my. Retrieved on 23 April 2012.
↑ "Current Population Estimates, Malaysia, 2014 – 2016" . Department of Statistics, Malaysia . คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม เมื่อ 12 August 2016.
↑ "2010 Population and Housing Census of Malaysia" (PDF) . Department of Statistics, Malaysia. pp. 16–61. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF) เมื่อ 5 February 2013.
↑ "Population by States and Ethnic Group" . Department of Information, Ministry of Communications and Multimedia, Malaysia. 2015. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม เมื่อ 12 February 2016. สืบค้นเมื่อ 12 February 2015 .
↑ "2010 Population and Housing Census of Malaysia" (PDF) (ภาษามาเลย์ และ อังกฤษ). Department of Statistics, Malaysia. p. 82. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF) เมื่อ 22 May 2014. สืบค้นเมื่อ 17 June 2012 .