Share to:

 

เทพเจ้าฮินดู

เทพเจ้าในศาสนาฮินดู
พระวิษณุศิลปะสุโขทัย เดิมอยู่หอเทวาลัยเกษตรพิมาน.
พระทุรคาศิลปะเขมร เดิมอยู่หอเทวาลัยเกษตรพิมาน.
พระหริหระศิลปะสุโขทัย เดิมอยู่หอเทวาลัยเกษตรพิมาน
พระอรรธนารีศวร ศิลปะโจฬะ พิพิธภัณฑ์นครเจนไน.

ศาสนาฮินดูมีคติการนับถือเทพเจ้าหลายองค์ แต่ละองค์ต่างมีลัทธิบูชาโดยเฉพาะ แต่ละยุคสมัย ใช้ตำนานเชื่อมต่อที่แตกต่างกันไป ในแต่ละท้องถิ่นยังมีความเชื่อเกี่ยวกับเทพเจ้าองค์หนึ่ง ๆ แตกต่างกันไปด้วย โดยทั่วไปเรียกเทพผู้ชายว่าเทวดา (สันสกฤต: देवता) และเทพผู้หญิงว่าเทวี (สันสกฤต: देवी)[1][2][3][4][5]

อ้างอิง

วิกิมีเดียคอมมอนส์มีสื่อเกี่ยวกับ เทพเจ้าฮินดู

  1. Radhakrishnan and Moore (1967, Reprinted 1989), A Source Book in Indian Philosophy, Princeton University Press, ISBN 978-0691019581, pages 37-39, 401-403, 498-503
  2. Nicholas Gier (2000), Spiritual Titanism: Indian, Chinese, and Western Perspectives, State University of New York Press, ISBN 978-0791445280, pages 59-76
  3. Jeaneane D Fowler (2012), The Bhagavad Gita, Sussex Academic Press, ISBN 978-1845193461, pages 253-262
  4. Renou 1964, p. 55
  5. Mike Burley (2012), Classical Samkhya and Yoga - An Indian Metaphysics of Experience, Routledge, ISBN 978-0415648875, page 39-41;
    Lloyd Pflueger, Person Purity and Power in Yogasutra, in Theory and Practice of Yoga (Editor: Knut Jacobsen), Motilal Banarsidass, ISBN 978-8120832329, pages 38-39;
    Kovoor T. Behanan (2002), Yoga: Its Scientific Basis, Dover, ISBN 978-0486417929, pages 56-58
Kembali kehalaman sebelumnya