Share to:

 

โตเกเลา

09°10′S 171°50′W / 9.167°S 171.833°W / -9.167; -171.833

โตเกเลา

Tokelau
ธงชาติโตเกเลา
ธงชาติ
ตราแผ่นดินของโตเกเลา
ตราแผ่นดิน
คำขวัญTokelau mo te Atua
โตเกเลาเพื่อพระผู้เป็นเจ้า
ที่ตั้งของโตเกเลา
แผนที่หมู่เกาะโตเกเลา เกาะสเวนส์อยู่ทางใต้ของภาพ
แผนที่หมู่เกาะโตเกเลา เกาะสเวนส์อยู่ทางใต้ของภาพ
เมืองหลวงหมุนเวียนทุกปีระหว่างสามอะทอลล์[a]
เมืองใหญ่สุดอาตาฟู
ภาษาราชการ
การปกครองราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ
• ประมุข
สมเด็จพระราชาธิบดีชาลส์ที่ 3
• ผู้บริหาร
รอสส์ อาร์เดิร์น
• หัวหน้ารัฐบาล
เครีซีอาโน คาโลโล
ดินแดนภายใต้การปกครองนิวซีแลนด์
• บัญญัติโตเกเลา
พ.ศ. 2491
พื้นที่
• รวม
10 ตารางกิโลเมตร (3.9 ตารางไมล์)
น้อยมาก
• ความสูง
5 เมตร
ประชากร
• สำมะโนประชากร 2016
1,499[3] (อันดับที่ 237)
115 ต่อตารางกิโลเมตร (297.8 ต่อตารางไมล์) (อันดับที่ 86)
จีดีพี (อำนาจซื้อ) 2017 (ประมาณ)
• รวม
10 ล้านดอลลาร์สหรัฐ[4]
6,275 ดอลลาร์สหรัฐ (ไม่จัดอันดับ)
จีดีพี (ราคาตลาด) (ประมาณ)
• รวม
9,406,225 ดอลลาร์สหรัฐ[4]
สกุลเงินดอลลาร์นิวซีแลนด์ (NZ$) (NZD)
เขตเวลาUTC+13:00
รูปแบบวันที่วว/ดด/ปปปป
ขับรถด้านซ้าย
รหัสโทรศัพท์+690
รหัส ISO 3166TK
โดเมนบนสุด.tk

โตเกเลา[5] (โตเกเลา: Tokelau; แปล: "ตะวันออกเฉียงเหนือ-เหนือ";[6] เดิมมีชื่อว่า หมู่เกาะยูเนียน และมีชื่อทางการถึง พ.ศ. 2519 ว่า หมู่เกาะโตเกเลา)[7] เป็นเขตการปกครองตนเองกึ่งอาณานิคมของนิวซีแลนด์ โดยประกอบไปด้วยอะทอลล์ทั้งหมด 3 แห่งในมหาสมุทรแปซิฟิกตอนใต้ ทั้งหมดมีพื้นที่ดินรวม 10 ตารางกิโลเมตร (4 ตารางไมล์) ซึ่งมีการผลัดเปลี่ยนเมืองหลวงไปตามอะทอลล์ทั้ง 3 แห่งทุก ๆ ปี[8] นอกจากนี้ เกาะสเวนส์ซึ่งอยู่ในกลุ่มเกาะเดียวกันตกเป็นกรณีพิพาทเรื่องดินแดน โดยในปัจจุบันสหรัฐบริหารเกาะนี้ในฐานะส่วนหนึ่งของอเมริกันซามัว สหประชาชาติได้จัดให้โตเกเลาอยู่ในรายชื่อประเทศที่ไม่ได้ปกครองตนเอง โตเกเลาเป็นประเทศและดินแดนที่มีกิจกรรมทางเศรษฐกิจและค่าผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศที่น้อยที่สุดในโลก มีเมืองที่ใหญ่ที่สุด คือ อาตาฟู

ศัพทมูลวิทยา

โตเกเลา เป็นคำที่มีความหมายในภาษาโตเกเลาว่า "ลมเหนือ" นักสำรวจชาวยุโรปยุคแรกเปลี่ยนชื่อหมู่เกาะโตเกเลาเป็น หมู่เกาะยูเนียน และ กลุ่มยูเนียน[9] จากนั้นมีการตั้งชื่อทางการของเกาะใน พ.ศ. 2519 เป็น หมู่เกาะโตเกเลา แล้วจึงตัดคำว่าหมู่เกาะออกเหลือเพียง โตเกเลา ในวันที่ 9 ธันวาคม พ.ศ. 2519

หมายเหตุ

  1. แต่ละอะทอลล์มีศูนย์กลางการปกครองของตนเอง

อ้างอิง

  1. "Government of Tokelau". www.tokelau.org.nz (ภาษาอังกฤษ). สืบค้นเมื่อ 20 September 2017.
  2. "Tokelau Info". Tokelau-info.tk. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 26 October 2013. สืบค้นเมื่อ 30 December 2011.
  3. Final population counts: 2016 Tokelau Census (PDF) (Report). Statistics New Zealand. November 2016. p. 3.
  4. 4.0 4.1 "Tokelau's Gross Domestic Product determined for first time this century". www.tokelau.org.nz.
  5. "ประกาศสำนักงานราชบัณฑิตยสภา เรื่อง กำหนดชื่อประเทศ ดินแดน เขตการปกครอง และเมืองหลวง" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 139 (พิเศษ 205 ง). 1 กันยายน 2565.
  6. "Culture of Tokelau - history, people, clothing, traditions, women, beliefs, food, family, social". www.everyculture.com (ภาษาอังกฤษ). สืบค้นเมื่อ 2017-02-28. Tokelau" means "north-northeast.
  7. Tokelau Amendment Act 1976
  8. "Welcome to sunny Tokelau, an untouched Pacific Paradise". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 11 มกราคม 2010.
  9. "Tokelau facts, information, pictures | Encyclopedia.com articles about Tokelau". www.encyclopedia.com (ภาษาอังกฤษ). สืบค้นเมื่อ 2017-11-29.

อ่านเพิ่ม

  • Heller, Maxwell H. (2005). Where on Earth Is Tokelau?: A Doctor's Experiences in the South Seas. ISBN 978-0-901100-58-0.
  • Huntsman, Judith; Hooper, Antony (1996). Tokelau: A Historical Ethnography. ISBN 978-1-86940-153-5.
  • Huntsman, Judith; Kalolo, Kelihiano (2007). The Future of Tokelau Decolonising Agendas, 1975–2006. ISBN 978-1-86940-398-0.
  • McQuarrie, Peter (2007). Tokelau: People, Atolls and History. ISBN 978-1-877449-41-3.

แหล่งข้อมูลอื่น

การปกครอง

อะทอลล์

Kembali kehalaman sebelumnya