จักรพรรดินีโคเงียวกุ / จักรพรรดินีไซเม皇極天皇 / 斉明天皇 ราชินีผู้ยิ่งใหญ่แห่งยามาโตะ จักรพรรดินีญี่ปุ่น (โคเงียวกุ, ครั้งแรก)ครองราชย์ 19 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 642 – 12 กรกฎาคม ค.ศ. 645 ก่อนหน้า โจเม ถัดไป โคโตกุ (ไซเม, ครั้งที่ 2) ครองราชย์ 14 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 655 – 24 สิงหาคม ค.ศ. 661 ก่อนหน้า โคโตกุ ถัดไป เท็นจิ สมเด็จพระจักรพรรดินีญี่ปุ่น ดำรงพระยศ ค.ศ. 630 – 641
พระราชสมภพ 7 สิงหาคม ค.ศ. 594 ประเทศญี่ปุ่น ทาการะ (宝 ) สวรรคต 24 สิงหาคม ค.ศ. 661 (66–67 พรรษา) อาซากูระ โนะ มิยะ ฝังพระศพ โอจิ-โนะ-โอกาโนเอะ โนะ มิซาซางิ (越智崗上陵; นาระ)ชายา
พระราชบุตร
พระสมัญญานาม ชิโง แบบจีน: จักรพรรดินีโคเงียวกุ (皇極天皇 ) จักรพรรดินีไซเม (斉明天皇 )ชิโง แบบญี่ปุ่น: อาเมโตโยะทาการะอิกาชิฮิตาราชิ-ฮิเมะ โนะ ซูเมรามิโกโตะ (天豊財重日足姫天皇 )
ราชสกุล ราชวงศ์ญี่ปุ่น พระราชบิดา เจ้าชายชินุ [ja ] พระราชมารดา เจ้าหญิงคิบิตสึ-ฮิเมะ
จักรพรรดินีโคเงียวกุ (ญี่ปุ่น : 皇極天皇 ; โรมาจิ : Kōgyoku-tennō ; ค.ศ. 594–661) หรือ จักรพรรดินีไซเม (ญี่ปุ่น : 斉明天皇 ; โรมาจิ : Saimei-tennō ) เป็นสมเด็จพระจักรพรรดินี แห่งญี่ปุ่น พระองค์เป็นจักรพรรดิ องค์ที่ 35[ 1] และ 37[ 2] ของประเทศญี่ปุ่น ตามลำดับการสืบทอดบัลลังก์[ 3]
พระนางเป็นหนึ่งในสมเด็จพระจักรพรรดินีเพียงสองพระองค์ของญี่ปุ่นที่ได้ครองราชย์ถึงสองครั้ง (อีกพระองค์หนึ่งคือจักรพรรดินีโคเก็ง ) พระนางครองราชย์ครั้งแรกเมื่อค.ศ. 686 เมื่อจักรพรรดิโจเม พระราชสวามีได้เสด็จสวรรคต พระนางครองราชย์สั้นๆเป็นเวลา 3 ปี จึงสละราชบัลลังก์ให้จักรพรรดิโคโตะกุ ผู้มีศักดิ์เป็นหลานอาของจักรพรรดิโจเม ต่อมาภายหลังจักรพรรดิโคโตะกุสวรรคต พระนางได้ครองราชย์เป็นครั้งที่สองเมื่อ ค.ศ. 645 จนเสด็จสรรคต พระราชบุตรองค์โตของพระองค์ ได้ขึ้นครองราชย์ต่อเป็น จักรพรรดิเท็นจิ
รายงานดั้งเดิม
ก่อนทำพิธีรองราชย์ที่ราชบัลลังก์ดอกเบญจมาศ พระนามส่วนพระองค์[ 4] คือ ทาการะ (ญี่ปุ่น : 宝 ; โรมาจิ : Takara )[ 5] หลังดำรงตำแหน่งจักรพรรดินี จึงมีพระนามใหม่ว่า อาเมโตโยะ ทาการะ อิกาชิ ฮิตาราชิ ฮิเมะ (ญี่ปุ่น : 天豐財重日足姬 ; โรมาจิ : Ametoyo Takara Ikashi Hitarashi hime'' )[ 6]
เจ้าหญิงทาการะ (ทาการะ โนะ มิโกะ ) เป็นพระราชปนัดดาในจักรพรรดิบิดัตสึ [ 7]
พงศาวลี
[ 8]
พงศาวลีของจักรพรรดินีโคเงียวกุ
แผนผัง
อ้างอิง
↑ Imperial Household Agency (Kunaichō ): 皇極(こうぎょく)天皇 (35) and 齊明(さいめい)天皇 (37)
↑ Kunaichō: 斉明天皇 (37)
↑ Ponsonby-Fane, Richard. (1959). The Imperial House of Japan , pp. 49, 51.
↑ Brown, pp. 264; prior to Emperor Jomei , the personal names of the emperors (imina ) were very long and people did not generally use them; however, the number of characters in each name diminished after Jomei's reign.
↑ Ponsonby-Fane, p. 8.
↑ Ashton, William. (2005). Nihongi , p. 171; Ponsonby-Fane, p. 8.
↑ Brown, p. 265.
↑ "Genealogy" . Reichsarchiv (ภาษาญี่ปุ่น). สืบค้นเมื่อ 25 January 2018 .
ข้อมูล
Aston, William George. (1896). Nihongi: Chronicles of Japan from the Earliest Times to A.D. 697 . London: Kegan Paul, Trench, Trubner. OCLC 448337491
Brown, Delmer M. and Ichirō Ishida, eds. (1979). Gukanshō: The Future and the Past . Berkeley: University of California Press. ISBN 978-0-520-03460-0 ; OCLC 251325323
Ponsonby-Fane, Richard Arthur Brabazon . (1959). The Imperial House of Japan . Kyoto: Ponsonby Memorial Society. OCLC 194887
Titsingh, Isaac. (1834). Nihon Ōdai Ichiran ; ou, Annales des empereurs du Japon . Paris: Royal Asiatic Society, Oriental Translation Fund of Great Britain and Ireland. OCLC 5850691
Varley, H. Paul. (1980). Jinnō Shōtōki: A Chronicle of Gods and Sovereigns . New York: Columbia University Press. ISBN 978-0-231-04940-5 ; OCLC 59145842