ประเทศที่ไม่มีทางออกสู่ทะเล มักจะถูกนิยามว่าเป็นประเทศที่ถูกปิดล้อมหรือเกือบถูกปิดล้อมด้วยแผ่นดินทั้งหมด[1][2][3][4] ในปี พ.ศ. 2554 มีทั้งหมด 45 ประเทศ การเป็นประเทศที่ไม่มีทางออกสู่ทะเลนับเป็นข้อด้อยทางภูมิศาสตร์ เพราะนอกจากจะถูกปิดกั้นจากทรัพยากรทางทะเลแล้ว ยังทำให้ไม่สามารถค้าขายทางทะเลได้อีกด้วย ประเทศที่มีชายฝั่งจึงมีแนวโน้มที่จะร่ำรวยกว่าและมีประชากรมากกว่าประเทศที่ไม่มีทางออกสู่ทะเล[5]
นอกจากนี้ยังมีคำว่า ทะเลปิด หมายถึงทะเลที่ไม่ได้เชื่อมกับมหาสมุทร เช่น ทะเลแคสเปียน ซึ่งในบางครั้งมองเป็นทะเลสาบ
นอกจากนี้ทะเลอื่น ๆ เช่น ทะเลดำ ทะเลเมดิเตอร์เรเนียน ทะเลบอลติก และ ทะเลแดง
มีช่องทางออกสู่ทะเลน้อย
รายชื่อประเทศที่ไม่มีทางออกสู่ทะเล
- † มีชายฝั่งติดกับทะเลแคสเปียนซึ่งเป็นทะเลปิด
- ‡ มีชายฝั่งติดกับทะเลอารัลซึ่งเป็นทะเลปิด
- ¤ ถูกล้อมรอบทุกด้านโดยประเทศเดียว
- 0 เป็นนครรัฐ
- ^ เป็นรัฐที่ได้รับการรับรองอย่างไม่สมบูรณ์
ชายแดนทะเลปิดของประเทศที่ไม่มีทางออกสู่ทะเล
- ทะเลสาบคาริบา : ซิมบับเว, แซมเบีย
- ทะเลสาบคาฮูล : มอลโดวา
- ทะเลสาบคีวู : รวันดา
- ทะเลแคสเปียน : คาซัคสถาน, เติร์กเมนิสถาน, อาเซอร์ไบจาน
- ทะเลสาบโคโฮฮา : บุรุนดี, รวันดา
- ทะเลสาบเจนีวา : สวิตเซอร์แลนด์
- ทะเลสาบชาด : ชาด, ไนเจอร์
- ทะเลสาบชิอูตา : มาลาวี
- ทะเลสาบซารือกามึช : เติร์กเมนิสถาน, อุซเบกิสถาน
- ทะเลสาบดอยรัน : มาซิโดเนียเหนือ
- ทะเลสาบติติกากา : โบลิเวีย
- ทะเลสาบเตอร์คานา : เอธิโอเปีย
- ทะเลสาบแทนกันยีกา : แซมเบีย, บุรุนดี
- ทะเลสาบน็อยซีเดิล : ออสเตรีย, ฮังการี
- ทะเลสาบโบเดิน : สวิตเซอร์แลนด์, ออสเตรีย
- ทะเลสาบเปรสปา : มาซิโดเนียเหนือ
- ทะเลสาบมัจโจเร : สวิตเซอร์แลนด์
- ทะเลสาบมาลาวี : มาลาวี
- ทะเลสาบรเวรู : บุรุนดี, รวันดา
- ทะเลสาบลูกาโน : สวิตเซอร์แลนด์
- ทะเลสาบวิกตอเรีย : ยูกันดา
- ทะเลสาบออคริต : มาซิโดเนียเหนือ
- ทะเลสาบอัลเบิร์ต : ยูกันดา
- ทะเลอารัล : คาซัคสถาน, อุซเบกิสถาน
- ทะเลสาบอุฟส์นูร์ : มองโกเลีย
- ทะเลสาบอึมเวรู : แซมเบีย
- ทะเลสาบเอ็ดเวิร์ด : ยูกันดา
ประเทศที่เกือบไม่มีทางออกสู่ทะเล
ประเทศต่อไปนี้มีดินแดนชายฝั่งซึ่งสั้นมากเมื่อเทียบกับขนาดของประเทศ
ประวัติศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง
อ้างอิง