Share to:

 

เอียวฮอง (หยาง หง)

เอียวฮอง (หยาง หง)
楊洪
รูปปั้นของเอียวฮองในศาลจูกัดเหลียงในนครเฉิงตู มณฑลเสฉวน
เจ้าหน้าที่ปกครอง (功曹 กงเฉา)
ดำรงตำแหน่ง
ค.ศ. 214 (214) – ค.ศ. ? (?)
กษัตริย์เล่าปี่
เจ้าเมืองจ๊ก (蜀郡太守 สู่จฺวิ้นไท่โฉฺ่ว)
ดำรงตำแหน่ง
ค.ศ. 219 (219) – ค.ศ. 228 (228)
กษัตริย์เล่าปี่ / เล่าเสี้ยน
ก่อนหน้าหวดเจ้ง
ขุนพลซื่อสัตย์ภักดี (忠節將軍 จงเจี๋ยเจียงจฺวิน)
ดำรงตำแหน่ง
ค.ศ. 223 (223) – ค.ศ. ? (?)
กษัตริย์เล่าเสี้ยน
นายกองทหารม้าเร็ว (越騎校尉 เยฺว่ฉีเซี่ยวเว่ย์)
ดำรงตำแหน่ง
ค.ศ. ? (?) – ค.ศ. 228 (228)
กษัตริย์เล่าเสี้ยน
ข้อมูลส่วนบุคคล
เกิดไม่ทราบ
เขตเผิงชาน มณฑลเสฉวน
เสียชีวิตค.ศ. 228[a]
อาชีพขุนนาง
ชื่อรองจี้ซิว (季休)
บรรดาศักดิ์กวนไล่เหา (關內侯 กวานเน่ย์โหฺว)

เอียวฮอง[2] (เสียชีวิต ค.ศ. 228)[a] มีชื่อในภาษาจีนกลางว่า หยาง หง (จีน: 楊洪; พินอิน: Yáng Hóng) ชื่อรอง จี้ซิว (จีน: 季休; พินอิน: Jìxiū) เป็นขุนนางของรัฐจ๊กก๊กในยุคสามก๊กของจีน

ประวัติช่วงต้น

เอียวฮองเป็นชาวอำเภออู่หยาง (武陽) เมืองเฉียนเว่ย์ (犍為) ซึ่งตั้งอยู่ในเขตเผิงชาน มณฑลเสฉวนในปัจจุบัน เมื่อเล่าเจี้ยงเป็นเจ้ามณฑลของมณฑลเอ๊กจิ๋ว เอียวฮองได้รับราชการในหลายเมืองต่อเนื่องกัน หลังเล่าปี่เข้ายึดครองมณฑลเอ๊กจิ๋วได้ ลิเงียมเสนอชื่อให้เอียวฮองเป็นเจ้าหน้าที่ปกครอง (功曹 กงเฉา) ภายหลังลิเงียมต้องการย้ายที่ว่าการเมืองเฉียนเว่ย์ แต่เอียวฮองคัดค้านอย่างหนักแน่น และท้ายที่สุดความเห็นของเอียวฮองก็ถูกเพิกเฉย ต่อมาเอียวฮองลาออกจากตำแหน่งเจ้าหน้าที่ปกครอง แต่ลิเงียมยังคงเสนอชื่อให้เอียวฮองมารับตำแหน่งเป็นขุนนางในนครหลวงของมณฑล[3]

รับราชการกับเล่าปี่

รับราชการกับเล่าเสี้ยน

คำวิจารณ์

ดูเพิ่ม

หมายเหตุ

  1. 1.0 1.1 ชีวประวัติเอียวฮองในจดหมายเหตุสามก๊กระบุว่าเอียวฮองเสียชีวิตในศักราชเจี้ยนซิง (ค.ศ. 223-237) ปีที่ 6 ในรัชสมัยของเล่าเสี้ยน[1]

อ้างอิง

  1. (... 六年卒官。) จตหมายเหตุสามก๊ก เล่มที่ 41.
  2. ("เจาจิ๋วก็ห้ามปรามเปนหลายครั้ง ขงเบ้งก็มิได้ฟัง จึงสั่งให้ กุยฮิวจี๋ บิฮุย ตันอุ๋น เฮียงทง ตันจีน เจียวอ้วน เตียวฮี เตาเขง โตบี เอียวฮอง เบงก๋อง ไลบิน อินเบด ลิจวน ฮุยสี เจาจิ๋ว กับขุนนางผู้ใหญ่ร้อยเศษ คุมทหารอยู่รักษาเมืองเสฉวน") "สามก๊ก ตอนที่ ๗๐". วัชรญาณ. สืบค้นเมื่อ August 14, 2023.
  3. (楊洪字季休,犍為武陽人也。劉璋時歷部諸郡。先主定蜀,太守李嚴命為功曹。嚴欲徙郡治舍,洪固諫不聽,遂辭功曹,請退。嚴欲薦洪於州,為蜀部從事。) จดหมายเหตุสามก๊ก เล่มที่ 41.

บรรณานุกรม

Kembali kehalaman sebelumnya