สถานีบางยี่ขัน (อังกฤษ: Bang Yi Khan Station, รหัส BL05) เป็นสถานีรถไฟฟ้าในเส้นทางรถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล ตั้งอยู่เหนือถนนจรัญสนิทวงศ์บริเวณปากซอยจรัญสนิทวงศ์ 42 ใกล้กับทางแยกบรมราชชนนีซึ่งสามารถต่อรถโดยสารไปยังสะพานสมเด็จพระปิ่นเกล้าและสถานที่สำคัญใกล้เคียงได้[2][3]
ที่ตั้ง
สถานีบางยี่ขันตั้งอยู่บนถนนจรัญสนิทวงศ์ หน้าปากซอยจรัญสนิทวงศ์ 42 บริเวณหน้าตลาดอินดี้ปิ่นเกล้าในพื้นที่เขตบางพลัด แขวงบางบำหรุ กรุงเทพมหานคร ใกล้กับ แยกบรมราชชนนี โดยบริเวณสถานีบางยี่ขันนับเป็นพื้นที่ชุมชนหนาแน่น ในอดีตเคยมีตลาดพงษ์ทรัพย์บริเวณปากซอยจรัญสนิทวงศ์ 46 และซอยร่วมที่ตั้งอยู่ใกล้ๆกัน
แผนผังสถานี
รายละเอียดสถานี
สัญลักษณ์ของสถานี
รูปแบบของสถานี
เป็นสถานีลอยฟ้า เป็นชานชาลาแบบข้าง (Station with Side Platform)
ทางเข้า-ออกสถานี
- 1 ซอยจรัญสนิทวงศ์ 49/1, ซอยจรัญสนิทวงศ์ 51, อาคารคอมมอนเวลธ์ปิ่นเกล้า (ลิฟต์), ตลาดนัดอินดี้ปิ่นเกล้า , แยกสิรินธร
- 2 ซอยจรัญสนิทวงศ์ 53 (บันไดเลื่อนขึ้นและลง) , วัดรวกบางบำหรุ, สำนักงานเขตที่ดินบางกอกน้อย
- 3 ซอยจรัญสนิทวงศ์ 42 (ลิฟต์), อาคารชุดเดอะ พาร์คแลนด์ ปิ่นเกล้า, โรงเรียนวัดบวรมงคล, วัดบวรมงคล, ซอยจรัญสนิทวงศ์ 46 (ตลาดพงษ์ทรัพย์), ซอยจรัญสนิทวงศ์ 65
- 4 ซอยจรัญสนิทวงศ์ 40/1 (บันไดเลื่อนขึ้น), อาคารชุดไลฟ์ ปิ่นเกล้า, บริษัทธนาแลนด์ จำกัด, ซอยจรัญสนิทวงศ์ 43, แยกบรมราชชนนี (ต่อรถไปพาต้าปิ่นเกล้า , เซ็นทรัลปิ่นเกล้า , โรงพยาบาลเจ้าพระยาได้ที่ทางออกนี้)
การจัดพื้นที่ในตัวสถานี
แบ่งเป็น 2 ชั้น ประกอบด้วย
- 3 ชั้นชานชาลา (Platform Level)
- 2 ชั้นจำหน่ายบัตรโดยสาร, เหรียญโดยสาร และห้องประชาสัมพันธ์ (Concourse level)
- 1 ชั้นระดับถนน (Ground Level)
รถโดยสารประจำทาง
- เส้นทางที่มีรถรองรับวีลแชร์
องค์การขนส่งมวลชนกรุงเทพ
สายที่
|
จุดเริ่มต้น
|
จุดสิ้นสุด
|
ประเภทของรถที่ให้บริการ
|
ผู้ให้บริการ
|
หมายเหตุ
|
66 (2-12) (3)
|
สถานีขนส่งผู้โดยสารกรุงเทพ (ปิ่นเกล้า)
|
ศูนย์ราชการฯ แจ้งวัฒนะ
|
ขสมก.
|
1.รถโดยสารประจำทางสีครีม–แดง 2.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีส้ม (ยูโรทู)
|
|
รถเอกชน
สายที่
|
จุดเริ่มต้น
|
จุดสิ้นสุด
|
ประเภทของรถที่ให้บริการ
|
ผู้ให้บริการ
|
หมายเหตุ
|
28 (4-38)
|
สถานีขนส่งผู้โดยสารกรุงเทพ (บรมราชชนนี)
|
มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม
|
รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีน้ำเงิน (ใช้พลังงานไฟฟ้า)
|
บจก.สมาร์ทบัส (เครือไทยสมายล์บัส)
|
|
56 (4-40)
|
สะพานกรุงธน
|
บางลำพู
|
บจก.ชัยกรการเดินรถ (เครือไทยสมายล์บัส)
|
เส้นทาง วิ่งเป็นวงกลม
|
108 (4-19)
|
เดอะมอลล์ท่าพระ – อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ
|
หัวลำโพง
|
บจก.สมาร์ทบัส (เครือไทยสมายล์บัส)
|
1.เส้นทาง วิ่งเป็นวงกลม 2.มีรถให้บริการน้อย
|
170 (4-49)
|
ตลาดเซฟอี
|
สถานีกลางกรุงเทพอภิวัฒน์
|
1.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีน้ำเงิน (ใช้พลังงานไฟฟ้า) 2.รถโดยสารประจำทางสีส้ม (ใช้พลังงานไฟฟ้า)
|
บจก.ไทยสมายล์บัส
|
|
175 (2-22)
|
ท่าน้ำนนทบุรี
|
ถนนตก
|
รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีน้ำเงิน (ใช้พลังงานไฟฟ้า)
|
|
203
|
ท่าอิฐ
|
สนามหลวง
|
1.รถโดยสารประจำทางธรรมดาสีส้ม 2.รถโดยสารประจำทางธรรมดาสีชมพู 3.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีเหลือง 4.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศขนาดเล็กสีฟ้า
|
บจก.บางกอก 118
|
|
4-68
|
สวนผัก
|
ถนนตก
|
รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีน้ำเงิน (ใช้พลังงานไฟฟ้า)
|
บจก.ไทยสมายล์บัส
|
|
ถนนจรัญสนิทวงศ์
- สาย 28 สายใต้ใหม่-ม.ราชภัฏจันทร์เกษม
- สาย 56 วงกลมสะพานกรุงธน - บางลำพู
- สาย 66 ศูนย์ราชการแจ้งวัฒนะ- สายใต้ใหม่
- สาย 79 เสริมพิเศษ อู่บรมราชชนนี-สายใต้ปิ่นเกล้า
- สาย 108 อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ-เดอะมอลล์ท่าพระ (วงกลม)
- สาย 170 พุทธมณฑลสาย 2 - สถานีกลางกรุงเทพอภิวัฒน์
- สาย 175 นนทบุรี-ตลาดพลู
- สาย 203 ท่าอิฐ-สนามหลวง
- กะป๊อเขียว ยันฮี-เซนทรัลปิ่น-ชัยพฤกษ์
เวลาให้บริการ
ปลายทาง |
วัน |
ขบวนแรก |
ขบวนสุดท้าย
|
สายเฉลิมรัชมงคล[4]
|
ชานชาลาที่ 1
|
BL38 |
หลักสอง (ผ่านบางซื่อ) |
จันทร์ - ศุกร์ |
05:46 |
23:20
|
|
เสาร์ - อาทิตย์ นักขัตฤกษ์ |
05:49 |
00:17
|
|
ขบวนสุดท้ายเชื่อมต่อสายสีม่วง |
- |
23:11
|
|
ชานชาลาที่ 2
|
BL01 |
ท่าพระ |
จันทร์ - ศุกร์ |
05:57 |
23:20
|
|
เสาร์ - อาทิตย์ นักขัตฤกษ์ |
06:01 |
00:17
|
สาเหตุที่การก่อสร้างล่าช้า
เนื่องจากว่าสถานีนี้มีอุโมงค์ใต้ดิน, สะพานคู่ขนานลอยฟ้า บรมราชชนนี และบริเวณนั้นเป็นบริเวณการจราจรหนาแน่น ซึ่งขัดขวางต่อการก่อสร้าง ทำให้การก่อสร้างไม่คืบหน้าไปตามที่ต้องการ จึงมีแนวคิดที่จะสร้างเสาตอม่อดังนี้
- 1. ใช้วิธีปักตอม่อบริเวณกลางถนน ซึ่งทะลุไปยังอุโมงค์ ทำให้ช่องทางอุโมงค์ฝั่งหนึ่งจะต้องเหลือเพียง 1 เลน จาก 2 เลน ซึ่งจะมีปัญหาการจราจรภายหลัง [5]
- 2. ใช้วิธีปักตอม่อบริเวณบาทวิถี ซึ่งจะสามารถลดปัญหาการจราจรในระดับหนึ่ง แต่จะทำให้บาทวิถีแคบลง และอาจมีปัญหารื้อถอนท่อระบายน้ำและเวนคืนที่ดินตามมา [6]
ส่วนสะพานคู่ขนานลอยฟ้า บรมราชชนนีนั้น จะทำการก่อสร้างในระดับความสูงที่สูงกว่าปกติ หรือจะลอดข้ามสะพานคู่ขนานลอยฟ้า บรมราชชนนี เพื่อมุ่งหน้า สถานีท่าพระ
ทางด้าน รฟม. กำลังตัดสินใจจะทำแบบข้างต้นในการสร้างเสาตอม่อ หรือเวนคืนที่ดินย่านนั้นๆ รวมประมาณ 84 คูหา เพื่อขยายพื้นที่บาทวิถี, ตอม่อ และร้านค้าบริเวณบาทวิถี
สถานที่สำคัญใกล้เคียง
อ้างอิง
แหล่งข้อมูลอื่น
|
---|
ท่าพระ–บางซื่อ | |
---|
บางซื่อ–หัวลำโพง | |
---|
หัวลำโพง–หลักสอง | |
---|
หลักสอง–พุทธมณฑล สาย 4 (โครงการ) | |
---|
|
---|
แขวง | | |
---|
ประวัติศาสตร์ | |
---|
ภูมิศาสตร์ | |
---|
เศรษฐกิจ | |
---|
สังคม | การศึกษา | |
---|
สาธารณสุข | |
---|
วัฒนธรรม | |
---|
|
---|
|