Share to:

 

ปฏิบัติการโบเดินพลัทเทอ

ปฏิบัติการโบเดินพลัทเทอ
ส่วนหนึ่งของ ยุทธการตอกลิ่ม, สงครามโลกครั้งที่สอง

เครื่องบินรุ่น Fw 190D-9ของกลุ่มที่ 10./JG 54 Grünherz, (นักบิน พลอากาศโท Theo Nibel), ถูกลงจอดเพราะนกกระทาซึ่งบินเข้าไปใกล้หม้อน้ำเครื่องยนต์ตรงจมูกเครื่องบินใกล้กับบรัสเซล์ เมื่อวันที่ 1 มกราคม ค.ศ. 1945.
วันที่1 มกราคม ค.ศ. 1945.
สถานที่
เบลเยียม, เนเธอร์แลนด์ และฝรั่งเศส
ผล ปฏิบัติการล้มเหลว[2][3]
คู่สงคราม
สหราชอาณาจักร สหราชอาณาจักร
สหรัฐอเมริกา สหรัฐอเมริกา
แคนาดา แคนาดา
ประเทศนิวซีแลนด์ในเครือจักรภพ นิวซีแลนด์
โปแลนด์ โปแลนด์[1][Notes 1]
นาซีเยอรมนี เยอรมนี
ผู้บังคับบัญชาและผู้นำ
สหราชอาณาจักร Arthur Coningham
สหรัฐอเมริกา Jimmy Doolittle
สหรัฐอเมริกา Hoyt Vandenberg
Werner Kreipe
Joseph Schmid
Dietrich Peltz
Karl Hentschel
Gotthard Handrick
หน่วยที่เกี่ยวข้อง
สหราชอาณาจักร 2nd Tactical Air Force
สหรัฐอเมริกา Eighth Air Force
สหรัฐอเมริกา Ninth Air Force
II. Jagdkorps
3. Jagddivision
5. Jagddivision
ความสูญเสีย
See Aftermath and casualties See Aftermath and casualties
แม่แบบ:Campaignbox Battle of the Bulge แม่แบบ:Campaignbox Western Front (World War II)

ปฏิบัติการโบเดินพลัทเทอ (เยอรมัน: Unternehmen Bodenplatte) เปิดฉากเมื่อวันที่ 1 มกราคม ค.ศ. 1945 เป็นความพยายามของลุฟท์วัฟเฟอเพื่อทำลายกองทัพอากาศฝ่ายสัมพันธมิตรในประเทศแผ่นดินต่ำในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง เป้าหมายของโบเดินพลัทเทอคือการได้รับอำนาจเหนือน่านฟ้าในช่วงระยะหยุดนิ่งของยุทธการตอกลิ่ม เพื่อให้กองทัพบกเยอรมันและวัฟเฟิน-เอ็สเอ็สสามารถดำเนินการรุกต่อไปได้ ปฏิบัติการนี้ได้ถูกวางแผนเอาไว้จากวันที่ 16 ธันวาคม ค.ศ. 1944 แต่มีความล่าช้าเรื่อย ๆ มา เนื่องจากสภาพอากาศที่เลวร้ายไปจนถึงวันขึ้นปีใหม่ วันแรกที่เกิดขึ้นเป็นช่วงเวลาที่เหมาะสม[4]

ความลับสำหรับปฏิบัติการนั้นมีความแน่นหนาจนกองทัพบกและกองทัพเรือทั้งหมดของเยอรมันไม่ได้รับแจ้งจากปฏิบัติการและบางหน่วยต่างได้บาดเจ็บและล้มตายจากการยิงพวกเดียวกันเอง สัญญาณข่าวกรองของบริติช (อัลตรา)ได้บันทึกความเคลื่อนไหวและการเตรียมความพร้อมของกองทัพอากาศเยอรมันในภูมิภาค แต่ไม่รับรู้เลยว่าปฏิบัติการครั้งนี้จะมาอย่างฉุกละหุก

ปฏิบัติการครั้งนี้ได้ประสบความสำเร็จอย่างน่าประหลาดใจและประสบความสำเร็จทางกลยุทธ์ แต่ท้ายที่สุดแล้วก็ต้องล้มเหลว เครื่องบินรบฝ่ายสัมพันธมิตรหลายลำถูกทำลายบนพื้นดินแต่แทนที่ภายในหนึ่งสัปดาห์ นักบินฝ่ายสัมพันธมิตรที่บาดเจ็บล้มตายมีน้อยมาก เนื่องจากความสูญเสียของฝ่ายสัมพันธมิตรส่วนใหญ่เป็นเครื่องบินรบที่จอดบนพื้นดิน อย่างไรก็ตาม เยอรมันสูญเสียนักบินไปหลายคนที่ไม่สามารถหามาทดแทนได้อย่างทันที[5]

การวิเคราะห์หลังการรบแสดงให้เห็นถึงมีเพียง 11 ลำของเครื่องบินรบ 34 กรุพเพิน (กลุ่ม) ของลุฟท์วัฟเฟอทำการโจมตีได้อย่างตรงเวลาและด้วยความประหลาด[6] ปฏิบัติการครั้งนี้ได้ล้มเหลวในการบรรลุถึงอำนาจเหนือน่านฟ้า แม้จะชั่วคราว, ในขณะที่กองทัพบกเยอรมันยังคงไร้การป้องกันจากการโจมตีทางอากาศของฝ่ายสัมพันธมิตร "โบเดินพลัทเทอ" เป็นปฏิบัติการทางยุทธศาสตร์ขนาดใหญ่ที่ถูกคิดค้นขึ้นโดยลุฟท์วัฟเฟอในช่วงสงคราม[7][8]

อ้างอิง

  1. 1.0 1.1 Peszke 1980, p. 134
  2. Girbig 1975, p. 73.
  3. Prien & Stemmer 2002, p. 349.
  4. Girbig 1975, p. 74.
  5. Caldwell 2007, p. 262.
  6. Caldwell 2007, p. 262.
  7. อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ Caldwell
  8. Franks 1994, no page (inside cover)
  1. Agreement #4 of the 11 June 1940 between the United Kingdom and Poland recognised the Polish Navy and Army as sovereign but that of the Air Force was refused. Agreement #7 reversed this decision in June 1944, and the Polish Air Force was "returned" to full Polish jurisdiction (with the exception of combat assignments, although the Poles retained the right to veto).[1]
Kembali kehalaman sebelumnya