เหล่าทัพ
|
ชื่อ
|
ตำแหน่งยศ
|
รางวัลเกียรติยศ
|
ชะตากรรม
|
เขตสงคราม / การรบ
|
กองทัพบก
|
จอร์จ มาร์แชลล์
|
|
นายพลแห่งกองทัพบก
|
ดิสทิงกวิชด์ เซอร์วิส ครอสส์, ซิลเวอร์สตาร์
|
ในฐานะที่เป็นรัฐมนตรีต่างประเทศ (Secretary of State) ชื่อของเขาได้ถูกมอบให้กับแผนมาร์แชลล์ ซึ่งทำให้เขาได้รับรางวัลโนเบลสาขาสันติภาพใน ค.ศ. 1950 และยังดำรงตำแหน่งเป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม (Secretary of Defense) ในช่วงสงครามเกาหลี
|
- หัวหน้าเสนาธิการแห่งกองทัพบกสหรัฐ
|
เป็นผู้ช่วยของนายพลเพอร์ชิงในช่วงหลังสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง เป็นเสนาธิการทหารที่มีอำนาจควบคุมกองทัพบกสหรัฐโดยรวมในช่วงระหว่างและก่อนสงครามโลกครั้งที่สอง มาร์แชลทำหน้าที่เป็นเสนาธิการแห่งกองทัพบกสหรัฐในช่วงสงครามและเป็นหัวหน้าที่ปรึกษาทางทหารของประธานาธิบดีแฟรงกลิน ดี. โรสเวลต์ นายพลอเมริกันหลายคนที่ได้รับคำสั่งสูงสุดในช่วงสงครามซึ่งได้รับเลือกหรือแนะนำโดยมาร์แชลล์ รวมถึงดไวต์ ไอเซนฮาวร์ Lloyd Fredendall, Lesley J. McNair, Mark W. Clark และโอมาร์ แบรดลีย์ เขาได้เป็นผู้นำการเติบโตอย่างรวดเร็วของกองทัพสหรัฐ ประสานงานกับฝ่ายสัมพันธมิตรตะวันตก และส่งเสริมการฟื้นฟูยุโรปหลังสงคราม
|
ดไวต์ ดี. ไอเซนฮาวร์
|
|
นายพลแห่งกองทัพบก
|
Army Distinguished Service Medal, Navy Distinguished Service Medal.
|
ภายหลังจากปลดปล่อยยุโรป, เขาได้ดำรงตำแหน่งเป็นหัวหน้าเสนาธิการแห่งกองทัพบก อธิการบดีแห่งมหาวิทยาลัยมหาวิทยาลัยโคลัมเบีย, และผู้บัญชาการทหารสูงสุดแห่งเนโท ก่อนที่จะถูกรับเลือกตั้งเป็นประธานาธิบดีสหรัฐคนที่ 34
|
|
ในเดือนธันวาคม ค.ศ. 1943, ประธานาธิบดีโรสเวลต์ได้ตัดสินใจเลือกไอเซนฮาวร์-ไม่ใช่มาร์แชล-ให้เป็นผู้บัญชาการทหารสูงสุดฝ่ายสัมพันธมิตรในยุโรป เดือนต่อมา เขาได้กลับมาเป็นผู้บัญชาการเขตสงครามยุโรปในปฏิบัติการกองทัพบกสหรัฐ(ETOUSA) และเดือนต่อมาก็ได้รับการแต่งตั้งอย่างเป็นทางการให้เป็นผู้บัญชาการทหารสูงสุดฝ่ายสัมพันธมิตรแห่งกองบัญชาการสูงสุดกำลังรบนอกประเทศสัมพันธมิตร(SHAPE) ซึ่งทำหน้าที่ถึงสองบทบาทจนกระทั่งการสู้รบในยุโรปได้ยุติลงในเดือนพฤษภาคม ค.ศ. 1945 เขาได้เป็นผู้รับผิดชอบในตำแหน่งนี้ด้วยการวางแผนและปฏิบัติการจู่โจมบนชายฝั่งนอร์ม็องดีของฝ่ายสัมพันธมิตรในเดือนมิถุนายน ค.ศ. 1944 ภายใต้รหัสนามว่า ปฏิบัติการโอเวอร์ลอร์ด เพื่อเป็นผู้นำในการปลดปล่อยยุโรปบนแนวรบด้านตะวันตกและการบุกครองเยอรมนี
|
ดักลาส แมกอาเธอร์
|
|
นายพลแห่งกองทัพบก
|
มีเดล ออฟ ฮอนเนอร์, Philippine Medal of Valor
|
ได้รับมอบหมายหน้าที่ในการฟื้นฟูญี่ปุ่นหลังสงคราม. ต่อมามีความเกี่ยวข้องกับสงครามเกาหลี
|
|
Recalled from retirement prior to the start of the Pacific war. Early on in World War II, received the Medal of Honor for extreme bravery. Was disappointed to relinquish the Philippines to the Japanese. Promising to return, he did so in 1945 and whilst in Manila, prepared for war in Japan itself. MacArthur presided over the Japanese Unconditional Surrender in 1945. His strategy of maneuver, air strikes and force avoidance meant that soldiers under his command faced relatively low casualties.
[1]
|
โอมาร์ แบรดลีย์
|
|
นายพลแห่งกองทัพบก
|
Distinguished Service Medal (Army and Navy).
|
Promoted to General of the Army during the Korean War (after serving in the rank of General during World War II). Became Chairman of the Joint Chiefs of Staff
|
|
This former infantry school instructor entered the war under Patton, later becoming his boss. Towards the end of the war, led a force of over 1.3 million troops (America's largest to serve under one man).[1]
|
Mark W. Clark
|
|
นายพล
|
Distinguished Service Medal (Army and Navy).
|
Became head of the Citadel
|
|
Led the triumphal entry into Rome. Served under General Harold Alexander. Ordered the destruction of the religious abbey at Monte Cassino. Was commander-in-chief in Italy from late 1944.[1]
|
จอร์จ เอส. แพตตัน จูเนียร์
|
|
นายพล
|
ดิสทิงกวิชด์ เซอร์วิส ครอสส์
|
เสียชีวิตในอุบัติเหตุรถชนเพียงสี่เดือนหลังสงครามยุติลง
|
|
An aggressive general whose ferocious military thrusts earned him admiration and respect from many participants in the war (and at times endangered his military career). Successfully used the German tactic of armored blitzkrieg against the Germans.[1]
|
กองทัพเรือ
|
เออร์เนสต์ คิง
|
|
จอมพลเรือ
|
เนวี ครอสส์
|
เกษียณเมื่อวันที่ 15 ธันวาคม ค.ศ. 1945.
|
|
[1] United States Chief of Naval Operations.
|
เชสเตอร์ ดับเบิลยู. นิมิตซ์
|
|
จอมพลเรือ
|
เลฌียงดอเนอร์, Distinguished Service Medal
|
ทำหน้าที่เป็นหัวหน้าปฏิบัติการกองทัพเรือ
|
|
After the attack on Pearl Harbor, took command of the Pacific Ocean areas, and turned around USA's fortunes in the Battle of Midway. Closed the war with operations in the Leyte Gulf and Okinawa.[1]
|
วิลเลียม ฮอลซี จูเนียร์
|
|
จอมพลเรือ
|
เนวี ครอสส์
|
Retired 1947.
|
|
Commander of South Pacific Area 1942-1944. Commander of United States Third Fleet 1944-1945.[1][2]
|
Frank Jack Fletcher
|
|
พลเรือเอก
|
มีเดล ออฟ ฮอนเนอร์
|
Chairman of the General Board, retired in 1947.
|
|
Recipient of the Medal of Honor for saving hundreds of refugees during the United States occupation of Veracruz in April 1914 during the Mexican Revolution. Operational commander at the pivotal Battles of Coral Sea and of Midway; nephew of Admiral Frank Friday Fletcher. In November 1942, he became Commander, Thirteenth Naval District and Commander, Northwestern Sea Frontier. Later, he was placed in charge of the Northern Pacific area.[1]
|
Raymond A. Spruance
|
|
พลเรือเอก
|
เนวี ครอสส์
|
Served as President of the Naval War College.
|
|
Commander of two significant battles during the war, Battle of Midway and the Battle of the Philippine Sea.
|
กองทัพอากาศ
|
Henry Arnold
|
|
นายพลแห่งกองทัพอากาศ
|
Distinguished Service Medal
|
|
|
Member of the US Joint Chiefs of Staff, and the Combined Chiefs of Staff committees.[1]
|
Ira C. Eaker
|
|
นายพล
|
Distinguished Service Medal (Army, Navy and Air Force)
|
Became deputy commander of the Army Air Forces until retirement in 1947.
|
|
Commander of the 8th US Bomber command.[1]
|
Carl Spaatz
|
|
นายพล
|
Air Force Cross
|
Replaced Arnold in September 1947 to become chief of the US Air Force.
|
|
One of the pioneers of US military aviation, Spaatz advocated the use of scientific analysis to bombing raids, and made effective use of long range fighters, tactics which helped the Allies achieve air superiority over Europe.[1]
|