Share to:

 

ปีแยร์-แอเมอริก โอบาเมอย็องก์

ปีแยร์-แอเมอริก โอบาเมอย็องก์
โอบาเมอย็องก์ขณะลงเล่นให้อาร์เซนอลใน ค.ศ. 2018
ข้อมูลส่วนตัว
ชื่อเต็ม ปีแยร์-แอเมอริก เอมีลียาโน ฟร็องซัว โอบาเมอย็องก์[1]
วันเกิด (1989-06-18) 18 มิถุนายน ค.ศ. 1989 (35 ปี)[2]
สถานที่เกิด ลาวาล ประเทศฝรั่งเศส
ส่วนสูง 1.86 เมตร (6 ฟุต 1 นิ้ว)[3]
ตำแหน่ง กองหน้าตัวเป้า
ข้อมูลสโมสร
สโมสรปัจจุบัน
ออแล็งปิกเดอมาร์แซย์
หมายเลข 10
สโมสรเยาวชน
1995–1997 ASL L'Huisserie[4]
1997–1998 นีซ
1998–2001 ลาวาล
2001–2007 บัสตียา
2007–2008 เอซี มิลาน
สโมสรอาชีพ*
ปี ทีม ลงเล่น (ประตู)
2008–2011 เอซี มิลาน 0 (0)
2008–2009ดีฌง (ยืมตัว) 34 (8)
2009–2010ลีล (ยืมตัว) 14 (2)
2010–2011มอนาโก (ยืมตัว) 19 (2)
2011–2013 แซ็งเตเตียน 87 (37)
2011 แซ็งเตเตียน 2 2 (0)
2013–2018 โบรุสซีอาดอร์ทมุนท์ 144 (98)
2018–2022 อาร์เซนอล 128 (68)
2022 บาร์เซโลนา 24 (13)
2022–2023 เชลซี 15 (1)
2023– มาร์แซย์ 0 (0)
ทีมชาติ
2009 ฝรั่งเศส อายุไม่เกิน 21 ปี 1 (0)
2009–2012 กาบอง อายุไม่เกิน 23 ปี 3 (1)
2009– กาบอง 72 (1780)
*นัดที่ลงเล่นและประตูที่ยิงให้แก่สโมสรเฉพาะลีกในประเทศเท่านั้น
ข้อมูลล่าสุด ณ วันที่ 13 สิงหาคม ค.ศ. 2022
‡ ข้อมูลการลงเล่นและประตูให้แก่ทีมชาติล่าสุด
ณ วันที่ 11:14, 28 มกราคม ค.ศ. 2022 (UTC)

ปีแยร์-แอเมอริก เอมีลียาโน ฟร็องซัว โอบาเมอย็องก์ (ฝรั่งเศส: Pierre-Emerick Emiliano François Aubameyang, ออกเสียง: [pjɛʁ ɛməʁik obaməjɑ̃ɡ]; เกิด 18 มิถุนายน ค.ศ. 1989) เป็นนักฟุตบอลอาชีพชาวกาบอง ปัจจุบันลงเล่นในตำแหน่งกองหน้าให้แก่อัล-คาดิซิยาห์ สโมสรในซาอุดีโปรเฟสชันนัลลีก และทีมชาติกาบอง เขามีชื่อเสียงในด้านความเร็ว การจบสกอร์ และการเคลื่อนไหวในขณะไม่ครองบอล[5]

เขาเกิดในลาวาล ประเทศฝรั่งเศส เป็นลูกชายของปีแยร์ โอบาเมอย็องก์ อดีตนักฟุตบอลทีมชาติกาบอง เขาเริ่มต้นอาชีพนักฟุตบอลกับทีมเยาวชนของเอซี มิลาน แต่ไม่เคยลงเล่นให้กับทีมชุดใหญ่ของสโมสรเลย เขามักถูกยืมตัวไปหลายสโมสรในฝรั่งเศส ก่อนที่แซ็งเตเตียนจะซื้อตัวไปในปี ค.ศ. 2011 เขาช่วยให้ทีมชนะเลิศ กุปเดอลาลีก ในฤดูกาล 2012–13 เขาย้ายร่วมทีมโบรุสซีอาดอร์ทมุนท์ ในปี ค.ศ. 2013 ในฤดูกาล 2016–17 เขาเป็นผู้ทำประตูสูงสุดในบุนเดิสลีกา และชนะเลิศเดเอ็ฟเบ-โพคาล เขาสร้างสถิติเป็นผู้เล่นที่ทำประตูให้โบรุสซีอาดอร์ทมุนท์สูงที่สุดตลอดกาลเป็นลำดับที่หก[6] ในปี ค.ศ. 2018 เขาได้เซ็นสัญญาร่วมทีมอาร์เซนอลด้วยราคาค่าตัว 56 ล้านยูโร ทำให้ในขณะนั้นเขาเป็นผู้เล่นชาวแอฟริกาที่ค่าตัวสูงที่สุด ก่อนจะถูกนีกอลา เปเป ทำลายสถิติไป แต่ยังคงเป็นผู้เล่นชาวกาบองที่ค่าตัวสูงที่สุดตลอดกาล[7] เขาเป็นผู้เล่นที่ทำประตูสูงสุดในพรีเมียร์ลีก ฤดูกาล 2018–19 และช่วยให้ทีมชนะเลิศเอฟเอคัพในปี ค.ศ. 2020[8] ในปี ค.ศ. 2022 เขายกเลิกสัญญากับอาร์เซนอลด้วยความยินยอมร่วมกัน และย้ายร่วมทีมบาร์เซโลนาในสเปน[9]

โอบาเมย็องก์เป็นผู้ทำประตูสูงสุดตลอดกาลให้แก่ทีมชาติกาบอง โดยเขาได้ลงเล่นมาตั้งแต่ปี ค.ศ. 2009 ในวัย 19 ปี เขาได้ลงเล่นในแอฟริกันคัพออฟเนชันส์ 4 ครั้ง รวมถึงยังเป็นตัวแทนแข่งขันในโอลิมปิกฤดูร้อน 2012 ที่สหราชอาณาจักร ในปี ค.ศ. 2016 เขาเป็นชาวกาบองคนแรก และเป็นคนที่เกิดในยุโรปคนที่สองที่ได้รับรางวัลนักฟุตบอลแอฟริกายอดเยี่ยมแห่งปี[10] เขาประกาศอำลาทีมชาติอย่างเป็นทางการในปี ค.ศ. 2022 หลังจากลงเล่น 73 นัดและยิงได้ 30 ประตู[11]

สโมสรอาชีพ

เชลซี

ณ วันที่ 2 กันยายน ค.ศ. 2022 เชลซีประกาศทำสัญญาให้โอบาเมอย็องก์เข้าร่วมสโมสรภายใต้สัญญา 2 ปี[12] ทางบาร์เซโลนายืนยันว่าค่าตัวของเขาอยู่ที่ 12 ล้านยูโร (10.3 ล้านปอนด์)[13]

ชีวิตส่วนตัว

โอบาเมอย็องก์เกิดที่ลาวาล ประเทศฝรั่งเศส[14] เขาเป็นลูกชายของปีแยร์ โอบาเมอย็องก์ อดีตนักฟุตบอลทีมชาติกาบอง และน้องชายร่วมบิดากับกาตีลีนาและวีลี ซึ่งทั้งคู่เล่นให้กับทีมเยาวชนมิลาน[15] แม่ของเขาเป็นชาวสเปน[16] เขาแต่งงานกับ Alysha Behague และมีลูกชายสองคนชื่อว่า Curtys และ Pierre[17][18]

เขาสามารถพูดหลายภาษา เช่น ภาษาฝรั่งเศส อังกฤษ สเปน อิตาลี และเยอรมัน[19]

สถิติอาชีพ

สโมสร

ณ วันที่ 13 สิงหาคม ค.ศ. 2022[20]
สโมสร ฤดูกาล ลีก เนชันนอลคัพ ลีกคัพ ยุโรป อื่น ๆ รวม
ดิวิชัน ลงเล่น ประตู ลงเล่น ประตู ลงเล่น ประตู ลงเล่น ประตู ลงเล่น ประตู ลงเล่น ประตู
เอซี มิลาน 2007–08 เซเรียอา 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0
ดีฌง (ยืมตัว) 2008–09 ลีกเดอ 34 8 4 2 1 0 39 10
ลีล (ยืมตัว) 2009–10 ลีกเอิง 14 2 0 0 1 0 9[a] 0 24 2
มอนาโก (ยืมตัว) 2010–11 ลีกเอิง 19 2 1 0 3 0 23 2
แซ็งเตเตียน 2010–11 ลีกเอิง 14 2 14 2
2011–12 ลีกเอิง 36 16 0 0 2 2 38 18
2012–13 ลีกเอิง 37 19 4 2 4 0 45 21
รวม 87 37 4 2 6 2 97 41
แซ็งเตเตียน 2 2010–11 Championnat de France Amateur 2 0 2 0
โบรุสซีอาดอร์ทมุนท์ 2013–14 บุนเดิสลีกา 32 13 6 2 9[b] 1 1[c] 0 48 16
2014–15 บุนเดิสลีกา 33 16 4 5 8[b] 3 1[c] 1 46 25
2015–16 บุนเดิสลีกา 31 25 4 3 14[a] 11 49 39
2016–17 บุนเดิสลีกา 32 31 4 2 9[b] 7 1[c] 0 46 40
2017–18 บุนเดิสลีกา 16 13 1 3 6[b] 4 1[c] 1 24 21
รวม 144 98 19 15 46 26 4 2 213 141
อาร์เซนอล 2017–18 พรีเมียร์ลีก 13 10 1 0 14 10
2018–19 พรีเมียร์ลีก 36 22 1 1 2 0 12[a] 8 51 31
2019–20 พรีเมียร์ลีก 36 22 2 4 0 0 6[a] 3 44 29
2020–21 พรีเมียร์ลีก 29 10 1 1 0 0 8[a] 3 1[d] 1 39 15
2021–22 พรีเมียร์ลีก 14 4 0 0 1 3 15 7
รวม 128 68 4 6 4 3 26 14 1 1 163 92
บาร์เซโลนา 2021–22 ลาลีกา 17 11 6[a] 2 23 13
2022–23 ลาลีกา 1 0 1 0
รวม 18 11 6 2 24 13
เชลซี 2022–23 พรีเมียร์ลีก 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0
รวมอาชีพ 446 226 32 25 15 5 87 42 5 3 585 301

ทีมชาติ

ณ วันที่ 4 มกราคม ค.ศ. 2022[21][22]
ทีมชาติ ปี ลงเล่น ประตู
กาบอง 2009 7 2
2010 10 3
2011 5 0
2012 8 4
2013 4 3
2014 4 2
2015 10 5
2016 4 2
2017 4 2
2018 2 1
2019 5 1
2020 2 1
2021 6 3
2022 1 1
รวม 72 30

ประตูในนามทีมชาติ

ณ วันที่ 4 มกราคม ค.ศ. 2022
ลำดับ วันที่ สนาม คู่แข่ง ประตู ผล รายการแข่งขัน
1 28 มีนาคม 2009 Stade Mohamed V, กาซาบล็องกา ประเทศโมร็อกโก ธงชาติโมร็อกโก โมร็อกโก 1–0 2–1 ฟุตบอลโลก 2010 รอบคัดเลือก
2 11 สิงหาคม 2009 Stade de l'Amitié, กอตอนู ประเทศเบนิน ธงชาติเบนิน เบนิน 1–0 1–1 กระชับมิตร
3 19 พฤษภาคม 2010 Stade François Coty, อาฌักซีโย ประเทศฝรั่งเศส ธงชาติโตโก โตโก 2–0 3–0 กระชับมิตร
4 11 สิงหาคม ค.ศ. 2010 Stade du 5 Juillet 1962, แอลเจียร์ ประเทศแอลจีเรีย ธงชาติแอลจีเรีย แอลจีเรีย 2–0 2–1 กระชับมิตร
5 17 พฤศจิกายน 2010 Stade Michel Hidalgo, Sannois ประเทศฝรั่งเศส ธงชาติเซเนกัล เซเนกัล 1–2 1–2 กระชับมิตร
6 23 มกราคม 2012 Stade d'Angondjé, ลีเบรอวิล ประเทศกาบอง ธงชาติไนเจอร์ ไนเจอร์ 1–0 2–0 แอฟริกาคัพออฟเนชันส์ 2012
7 27 มกราคม 2012 Stade d'Angondjé, ลีเบรอวิล ประเทศกาบอง ธงชาติโมร็อกโก โมร็อกโก 1–1 3–2 แอฟริกาคัพออฟเนชันส์ 2012
8 31 มกราคม 2012 Stade de Franceville, ฟร็องส์วีล ประเทศกาบอง ธงชาติตูนิเซีย ตูนิเซีย 1–0 1–0 แอฟริกาคัพออฟเนชันส์ 2012
9 14 ตุลาคม 2012 Stade d'Angondjé, ลีเบรอวิล ประเทศกาบอง ธงชาติโตโก โตโก 1–2 1–2 แอฟริกาคัพออฟเนชันส์ 2013 รอบคัดเลือก
10 15 มิถุนายน 2013 Stade de Franceville, ฟร็องส์วีล ประเทศกาบอง ธงชาติไนเจอร์ ไนเจอร์ 1–1 4–1 ฟุตบอลโลก 2014 รอบคัดเลือก
11 2–1
12 4–1
13 11 ตุลาคม 2014 Stade d'Angondjé, ลีเบรอวิล ประเทศกาบอง ธงชาติบูร์กินาฟาโซ บูร์กินาฟาโซ 1–0 2–0 แอฟริกาคัพออฟเนชันส์ 2015 รอบคัดเลือก
14 2–0
15 17 มกราคม 2015 Estadio de Bata, บาตา ประเทศอิเควทอเรียลกินี ธงชาติบูร์กินาฟาโซ บูร์กินาฟาโซ 1–0 2–0 แอฟริกาคัพออฟเนชันส์ 2015
16 25 มีนาคม 2015 Stade Pierre Brisson, โบแว ประเทศฝรั่งเศส ธงชาติมาลี มาลี 2–2 4–3 กระชับมิตร
17 3–2
18 5 กันยายน 2015 Stade d'Angondjé, ลีเบรอวิล ประเทศกาบอง ธงชาติซูดาน ซูดาน 4–0 4–0 กระชับมิตร
19 9 ตุลาคม 2015 Stade Olympique de Radès, ตูนิส ประเทศตูนิเซีย ธงชาติตูนิเซีย ตูนิเซีย 1–1 3–3 กระชับมิตร
20 25 มีนาคม 2016 Stade de Franceville, ฟร็องส์วีล ประเทศกาบอง ธงชาติเซียร์ราลีโอน เซียร์ราลีโอน 1–0 2–1 กระชับมิตร
21 2 กันยายน 2016 สนามกีฒาคาร์ทูม คาร์ทูม ประเทศซูดาน ธงชาติซูดาน ซูดาน 1–1 2–1 กระชับมิตร
22 14 มกราคม 2017 Stade d'Angondjé, ลีเบรอวิล ประเทศกาบอง ธงชาติกินี-บิสเซา กินี-บิสเซา 1–0 1–1 แอฟริกาคัพออฟเนชันส์ 2017
23 18 มกราคม 2017 Stade d'Angondjé, ลีเบรอวิล ประเทศกาบอง ธงชาติบูร์กินาฟาโซ บูร์กินาฟาโซ 1–1 1–1 แอฟริกาคัพออฟเนชันส์ 2017
24 8 กันยายน 2018 Stade d'Angondjé, ลีเบรอวิล ประเทศกาบอง ธงชาติบุรุนดี บุรุนดี 1–1 1–1 แอฟริกาคัพออฟเนชันส์ 2019 รอบคัดเลือก
25 10 ตุลาคม 2019 Stade Municipal Saint-Leu-la-Forêt ประเทศฝรั่งเศส ธงชาติบูร์กินาฟาโซ บูร์กินาฟาโซ 1–0 1–0 กระชับมิตร
26 12 พฤศจิกายน 2020 Stade de Franceville, ฟร็องส์วีล ประเทศกาบอง ธงชาติประเทศแกมเบีย แกมเบีย 2–0 2–1 แอฟริกาคัพออฟเนชันส์ 2021 รอบคัดเลือก
27 25 มีนาคม 2021 Stade de Franceville, ฟร็องส์วีล ประเทศกาบอง Flag of the Democratic Republic of the Congo สาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโก 3–0 3–0 แอฟริกาคัพออฟเนชันส์ 2021 รอบคัดเลือก
28 11 ตุลาคม 2021 Stade de Franceville, ฟร็องส์วีล ประเทศกาบอง ธงชาติแองโกลา แองโกลา 1–0 2–0 ฟุตบอลโลก 2022 รอบคัดเลือก
29 12 พฤศจิกายน 2021 Stade de Franceville, ฟร็องส์วีล ประเทศกาบอง ธงชาติลิเบีย ลิเบีย 1–0 1–0 ฟุตบอลโลก 2022 รอบคัดเลือก
30 4 มกราคม 2022 The Sevens Stadium ดูไบ สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ ธงชาติมอริเตเนีย มอริเตเนีย 1–0 1–1 กระชับมิตร

เกียรติประวัติ

โอบาเมอย็องก์ในปี 2011

แซ็งเตเตียน

โบรุสซีอาดอร์ทมุนท์

อาร์เซนอล

กาบอง

รางวัลส่วนตัว

เครื่องอิสริยาภรณ์

อ้างอิง

  1. "Pierre-Emerick Aubameyang: 10 things on the Borussia Dortmund and Gabon star". Bundesliga. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2019-03-22. สืบค้นเมื่อ 21 February 2019.
  2. "Pierre-Emerick Aubameyang: Overview". ESPN. สืบค้นเมื่อ 30 August 2020.
  3. "Pierre-Emerick Aubameyang: Profile". worldfootball.net. HEIM:SPIEL. สืบค้นเมื่อ 30 August 2020.
  4. "Joueur – Pierre-Emerick AUBAMEYANG". French Football Federation. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 24 September 2020. สืบค้นเมื่อ 13 January 2017.
  5. "Ten things about Aubameyang". Bundesliga. 13 August 2013. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 3 December 2014. สืบค้นเมื่อ 5 November 2014.
  6. "The 100 best footballers in the world 2016 – interactive". The Guardian. 20 December 2016.
  7. "Pierre-Emerick Aubameyang completes £56m Arsenal move". The Guardian. 31 January 2018. สืบค้นเมื่อ 31 January 2018.
  8. "Aubameyang: Arsenal's talisman". 1 August 2020.
  9. "Barcelona sign Arsenal's Pierre-Emerick Aubameyang on free transfer". 2 February 2022. สืบค้นเมื่อ 27 July 2022.
  10. "Pierre-Emerick Aubameyang beats Yaya Toure to Caf award". BBC Sport. 7 January 2016. สืบค้นเมื่อ 8 January 2016.
  11. "Barcelona striker Aubameyang announces retirement from international football with Gabon". 19 May 2022. สืบค้นเมื่อ 27 July 2022.
  12. "Chelsea transfer news: Aubameyang signs for Chelsea". Chelsea FC (ภาษาอังกฤษแบบบริติช). 2 September 2022. สืบค้นเมื่อ 2 September 2022.
  13. "Pierre Emerick Aubameyang leaves for Chelsea". FC Barcelona (ภาษาอังกฤษ). 1 September 2022. สืบค้นเมื่อ 2 September 2022.
  14. "Pierre-Emerick Aubameyang". L'Équipe (ภาษาฝรั่งเศส). Paris. สืบค้นเมื่อ 30 August 2020.
  15. "How brilliant is Dortmund's Aubameyang?". UEFA.
  16. Arnaud Bodin & Guillaume André (26 May 2016). "Aubameyang, une star 'made in Laval'". l'édition du soir.
  17. "Aubameyang celebrates sons Pierre Jr & Curtys Birthday with a "Harry Potter" themed birthday party after FA Cup magic". Futball News. 4 August 2020. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2022-07-07. สืบค้นเมื่อ 2022-08-12.
  18. Fowler, Kate (2021-01-27). "Who is 's wife? Age and Instagram of Alysha Behague". HITC (ภาษาอังกฤษแบบบริติช). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2021-01-27. สืบค้นเมื่อ 2021-02-15.
  19. "Pierre-Emerick Aubameyang: "I have something in mind for my 100th goal, but it's a surprise". bundesliga.com. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2022-08-12. สืบค้นเมื่อ 9 September 2020.
  20. / ข้อมูลของ ปีแยร์-แอเมอริก โอบาเมอย็องก์ ที่ ซ็อกเกอร์เวย์
  21. "Aubameyang, Pierre-Emerick". National Football Teams. Benjamin Strack-Zimmermann. สืบค้นเมื่อ 7 October 2018.
  22. "Pierre-Emerick Aubameyang – International Goals". RSSSF.
  23. "France: Coupe de la Ligue 2012/2013: Final: AS Saint-Étienne – Stade Rennes 1:0". worldfootball.net. HEIM:SPIEL. สืบค้นเมื่อ 19 July 2020.
  24. "DFB-Pokal 2016/17, Finale in Berlin: Eintracht Frankfurt 1:2 Borussia Dortmund: Takt. aufstellung" [DFB-Pokal 2016/17, Final in Berlin: Eintracht Frankfurt 1:2 Borussia Dortmund: Tactical lineup]. kicker (ภาษาเยอรมัน). Olympia-Verlag. สืบค้นเมื่อ 19 July 2020.
  25. "DFB-Pokal 2013/14, Finale in Berlin: Borussia Dortmund 0:2 Bayern München: Takt. aufstellung" [DFB-Pokal 2013/14, Final in Berlin: Borussia Dortmund 0:2 Bayern Munich: Tactical lineup]. kicker (ภาษาเยอรมัน). Olympia-Verlag. สืบค้นเมื่อ 19 July 2020.
  26. "DFB-Pokal 2014/15, Finale in Berlin: Borussia Dortmund 1:3 VfL Wolfsburg: Takt. aufstellung" [DFB-Pokal 2014/15, Final in Berlin: Borussia Dortmund 1:3 VfL Wolfsburg: Tactical lineup]. kicker (ภาษาเยอรมัน). Olympia-Verlag. สืบค้นเมื่อ 19 July 2020.
  27. "DFB-Pokal 2015/16, Finale in Berlin: Bayern München 4:3 Borussia Dortmund: Takt. aufstellung" [DFB-Pokal 2015/16, Final in Berlin: Bayern Munich 4:3 Borussia Dortmund: Tactical lineup]. kicker (ภาษาเยอรมัน). Olympia-Verlag. สืบค้นเมื่อ 19 July 2020.
  28. "Supercup 2013, Finale: Borussia Dortmund 4:2 Bayern München: Takt. aufstellung" [Supercup 2013, Final: Borussia Dortmund 4:2 Bayern Munich: Tactical lineup]. kicker (ภาษาเยอรมัน). Olympia-Verlag. สืบค้นเมื่อ 19 July 2020.
  29. "Supercup 2014, Finale in Dortmund: Borussia Dortmund 2:0 Bayern München: Takt. aufstellung" [Supercup 2014, Final in Dortmund: Borussia Dortmund 2:0 Bayern Munich: Tactical lineup]. kicker (ภาษาเยอรมัน). Olympia-Verlag. สืบค้นเมื่อ 19 July 2020.
  30. McNulty, Phil (1 August 2020). "Arsenal 2–1 Chelsea". BBC Sport. สืบค้นเมื่อ 1 August 2020.
  31. Sanders, Emma (29 August 2020). "Arsenal 1–1 Liverpool". BBC Sport. สืบค้นเมื่อ 30 August 2020.
  32. McNulty, Phil (25 February 2018). "Arsenal 0–3 Manchester City". BBC Sport. สืบค้นเมื่อ 24 April 2019.
  33. Bevan, Chris (29 May 2019). "Chelsea 4–1 Arsenal". BBC Sport. สืบค้นเมื่อ 29 May 2019.
  34. Limited, Bangkok Post Public Company. "Slovakia beat Thailand 3–2, win King's Cup". Bangkok Post. สืบค้นเมื่อ 29 September 2019.
  35. "Thailand face fearsome EPL threesome in King's Cup".
  36. "Aubameyang wins best African player in France award". BBC Sport. 14 May 2013. สืบค้นเมื่อ 20 May 2017.
  37. "Ligue 1 Team of the Year". Ligue1.com. 24 May 2013. สืบค้นเมื่อ 30 May 2017.
  38. "PALMARÈS". UNFP. สืบค้นเมื่อ 13 November 2019.
  39. "Glo-Caf Awards Lagos 2013". cafonline.com. 2013. สืบค้นเมื่อ 11 July 2016.
  40. "Glo-Caf Award Winners 2014". ahramonline. 9 January 2015. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2018-06-28. สืบค้นเมื่อ 11 July 2016.
  41. "Aubameyang, Samatta rule Africa". cafonline.com. 7 January 2016. สืบค้นเมื่อ 11 July 2016.
  42. "Salah and Mane Picked in First Africa Best 11". FIFPro. 8 January 2019. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 9 January 2019. สืบค้นเมื่อ 8 January 2019.
  43. "Mane, Oshoala named African Footballers of 2019 at CAF Awards". CAFOnline.com. CAF. 7 January 2020. สืบค้นเมื่อ 7 January 2020.
  44. "Prix Marc-Vivien Foé: Dix joueurs pour succéder à Aubameyang". Afrique foot. 4 April 2014. สืบค้นเมื่อ 30 May 2017.
  45. "UEFA Europa League Squad of the Season". UEFA. 20 May 2016.
  46. "UEFA Europa League Squad of the 2018/19 Season". UEFA. 30 May 2019.
  47. "Official Bundesliga Team of the Season for 2016/17". Bundesliga. 26 May 2017. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 12 June 2018. สืบค้นเมื่อ 29 May 2017.
  48. "Aubameyang crowned African Footballer of the Year". Al Jazeera.
  49. "Aubameyang named players' player of 2015/16". Bundesliga. 1 June 2016. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2020-02-28. สืบค้นเมื่อ 15 June 2016.
  50. "Gabon's Aubameyang ends Bundesliga season as top scorer". BBC Sport. 20 May 2017. สืบค้นเมื่อ 20 May 2017.
  51. 51.0 51.1 "Pierre-Emerick Aubameyang: Overview". Premier League. สืบค้นเมื่อ 11 October 2019.
  52. "Aubameyang is our 2019/20 Player of the Season". arsenal.com. 8 August 2020. สืบค้นเมื่อ 8 August 2020.
  53. "PFA Player of the Year: Kevin de Bruyne and Beth England named 2020 winners". BBC Sport. 8 September 2020. สืบค้นเมื่อ 8 September 2020.
  54. "CAF MEN TEAM 2020 by IFFHS". IFFHS. 13 December 2020. สืบค้นเมื่อ 13 December 2020.
  55. "IFFHS (International Federation of Football for History & Statistics". IFFHS. 28 January 2021. สืบค้นเมื่อ 2021-01-31.
  56. "African football player of year Aubameyang home to hero's welcome". Radio France Internationale. 8 January 2016. สืบค้นเมื่อ 11 December 2021.

แหล่งข้อมูลอื่น

Kembali kehalaman sebelumnya