|
ทั่วไป
|
ชื่อ, สัญลักษณ์, เลขอะตอม
|
พลวง, Sb, 51
|
อนุกรมเคมี |
ธาตุกึ่งโลหะ
|
หมู่, คาบ, บล็อก
|
15, 5, p
|
ลักษณะ |
silvery lustrous gray
|
มวลอะตอม |
121.760 (1) กรัม/โมล
|
การจัดเรียงอิเล็กตรอน |
[Kr] 4d10 5s2 5p3
|
อิเล็กตรอนต่อระดับพลังงาน |
2, 8, 18, 18, 5
|
คุณสมบัติทางกายภาพ
|
สถานะ |
ของแข็ง
|
ความหนาแน่น (ใกล้ r.t.) |
6.697 ก./ซม.³
|
ความหนาแน่นของของเหลวที่m.p. |
6.53 ก./ซม.³
|
จุดหลอมเหลว |
903.78 K (630.63 °C)
|
จุดเดือด |
1860 K(1587 °C)
|
ความร้อนของการหลอมเหลว |
19.79 กิโลจูล/โมล
|
ความร้อนของการกลายเป็นไอ |
193.43 กิโลจูล/โมล
|
ความร้อนจำเพาะ |
(25 °C) 25.23 J/(mol·K)
|
ความดันไอ
P/Pa |
1 |
10 |
100 |
1 k |
10 k |
100 k
|
ที่ T K |
807 |
876 |
1011 |
1219 |
1491 |
1858
|
|
คุณสมบัติของอะตอม
|
โครงสร้างผลึก |
rhombohedral
|
สถานะออกซิเดชัน |
−3, 3, 5
|
อิเล็กโตรเนกาติวิตี |
2.05 (พอลิงสเกล)
|
พลังงานไอออไนเซชัน (เพิ่มเติม)
|
ระดับที่ 1: 834 กิโลจูล/โมล
|
ระดับที่ 2: 1594.9 กิโลจูล/โมล
|
ระดับที่ 3: 2440 กิโลจูล/โมล
|
รัศมีอะตอม |
145 pm
|
รัศมีอะตอม (คำนวณ) |
133 pm
|
รัศมีโควาเลนต์ |
138 pm
|
อื่น ๆ
|
การจัดเรียงทางแม่เหล็ก |
no data
|
ความต้านทานไฟฟ้า |
(20 °C) 417 nΩ·m
|
การนำความร้อน |
(300 K) 24.4 W/(m·K)
|
การขยายตัวจากความร้อน |
(25 °C) 11.0 µm/(m·K)
|
อัตราเร็วของเสียง (แท่งบาง) |
(20 °C) 3420 m/s
|
มอดุลัสของยัง |
55 GPa
|
โมดูลัสของแรงเฉือน |
20 GPa
|
โมดูลัสของแรงบีบอัด |
42 GPa
|
ความแข็งโมส |
3.0
|
ความแข็งบริเนล |
294 MPa
|
เลขทะเบียน CAS |
7440-36-0
|
ไอโซโทปเสถียรที่สุด
|
|
แหล่งอ้างอิง
|
พลวง (อังกฤษ: Antimony) คือธาตุที่มีหมายเลขอะตอม 51 และสัญลักษณ์คือ Sb (มาจากคำในภาษาลาตินว่า Stibium) พลวงเป็นธาตุกึ่งโลหะ (metalloid) มี 4 อัญญรูป ที่มีความเสถียรจะเป็นโลหะสีฟ้า พลวงที่มีสีเหลืองและดำจะเป็นอโลหะที่ไม่เสถียร พลวงใช้ประโยชน์ในการทำสีเซรามิก สารเคลือบผิว โลหะผสม อิเล็กโทรดและยาง
แหล่งแร่พลวงในประเทศไทย
แร่พลวงพบมากในจังหวัดแม่ฮ่องสอน, เชียงใหม่, ลำปาง, ลำพูน, แพร่, ตาก, เชียงราย, สุโขทัย, กาญจนบุรี, ชลบุรี, ระยอง, สุราษฎร์ธานี, ตรัง และสตูล