|
ทั่วไป
|
ชื่อ, สัญลักษณ์, เลขอะตอม
|
เจอร์เมเนียม, Ge, 32
|
อนุกรมเคมี |
ธาตุกึ่งโลหะ
|
หมู่, คาบ, บล็อก
|
14, 4, p
|
ลักษณะ |
สีขาวอมเทา
|
มวลอะตอม |
72.61(1) กรัม/โมล
|
การจัดเรียงอิเล็กตรอน |
[Ar] 3d10 4s2 4p2
|
อิเล็กตรอนต่อระดับพลังงาน |
2, 8, 18, 4
|
คุณสมบัติทางกายภาพ
|
สถานะ |
ของแข็ง
|
ความหนาแน่น (ใกล้ r.t.) |
5.323 ก./ซม.³
|
ความหนาแน่นของของเหลวที่m.p. |
5.60 ก./ซม.³
|
จุดหลอมเหลว |
1211.40 K (938.25 °C)
|
จุดเดือด |
3106 K(2833 °C)
|
ความร้อนของการหลอมเหลว |
36.94 กิโลจูล/โมล
|
ความร้อนของการกลายเป็นไอ |
334 กิโลจูล/โมล
|
ความร้อนจำเพาะ |
(25 °C) 23.222 J/(mol·K)
|
ความดันไอ
P/Pa |
1 |
10 |
100 |
1 k |
10 k |
100 k
|
ที่ T K |
1644 |
1814 |
2023 |
2287 |
2633 |
3104
|
|
คุณสมบัติของอะตอม
|
โครงสร้างผลึก |
cubic face centered
|
สถานะออกซิเดชัน |
4 (amphoteric oxide)
|
อิเล็กโตรเนกาติวิตี |
2.01 (พอลิงสเกล)
|
พลังงานไอออไนเซชัน (เพิ่มเติม)
|
ระดับที่ 1: 762 กิโลจูล/โมล
|
ระดับที่ 2: 1537.5 กิโลจูล/โมล
|
ระดับที่ 3: 3302.1 กิโลจูล/โมล
|
รัศมีอะตอม |
125 pm
|
รัศมีอะตอม (คำนวณ) |
125 pm
|
รัศมีโควาเลนต์ |
122 pm
|
อื่น ๆ
|
การจัดเรียงทางแม่เหล็ก |
ไม่มีข้อมูล
|
การนำความร้อน |
(300 K) 60.2 W/(m·K)
|
การขยายตัวจากความร้อน |
(25 °C) 6.0 µm/(m·K)
|
อัตราเร็วของเสียง (แท่งบาง) |
(20 °C) 5400 m/s
|
ความแข็งโมส |
6.0
|
เลขทะเบียน CAS |
7440-56-4
|
ไอโซโทปเสถียรที่สุด
|
|
แหล่งอ้างอิง
|
เจอร์เมเนียม (อังกฤษ: Germanium) เป็นธาตุที่อยู่ระหว่างซิลิคอน (Si) และดีบุก (Sn) สัญลักษณ์คือ Ge ในกลุ่ม IVa ของตารางธาตุ เป็นพวกเมทัลลอยด์สีเทาเงิน มีคุณสมบัติก้ำกึ่งระหว่างโลหะและอโลหะ
ประวัติการค้นพบ
แม้ว่าเจอร์เมเนียมเพิ่งถูกค้นพบ เมื่อปี ค.ศ. 1886 โดยเคลเมนส์ วิงเคลอร์ (Clemens Winkler) นักเคมีชาวเยอรมัน แต่ก็มีคุณสมบัติและตำแหน่งในระบบตารางธาตุตามการทำนายมาแล้ว ตั้งแต่ปี 1871 โดยนักเคมีชาวรัสเซียชื่อ ดมิตรี อิวานอวิช เมนเดลเลเยฟ (Dmitry Ivanovich Mendeleyev) ซึ่งเขาเรียกธาตุตามสมมุติฐานนี้ว่า "เอคาซิลิคอน" (ekasilicon)
ประโยชน์
ธาตุเจอร์เมเนียมยังไม่มีความสำคัญในทางเศรษฐกิจจนกระทั่งหลัง ค.ศ. 1945 เมื่อมีการรับรู้ถึงคุณสมบัติที่เป็นสารกึ่งตัวนำของมัน ซึ่งมีคุณค่าสำคัญในงานอิเล็กทรอนิกส์ ปัจจุบันนี้มีการใช้สสารอื่น ๆ มากมายเพื่อผลิตสารกึ่งตัวนำ แต่เจอร์เมเนียมก็ยังคงมีความสำคัญเป็นอันดับต้น ๆ ในการผลิตทรานซิสเตอร์ และอุปกรณ์อื่น ๆ เช่น เรกติไฟเออร์ และเซลล์แสงอาทิตย์