|
ทั่วไป
|
ชื่อ, สัญลักษณ์, เลขอะตอม
|
สแกนเดียม, Sc, 21
|
อนุกรมเคมี |
โลหะทรานซิชัน
|
หมู่, คาบ, บล็อก
|
3, 4, d
|
ลักษณะ |
สีขาวเงิน
|
มวลอะตอม |
44.955910 (8) กรัม/โมล
|
การจัดเรียงอิเล็กตรอน |
[Ar] 3d1 4s2
|
อิเล็กตรอนต่อระดับพลังงาน |
2, 8, 9, 2
|
คุณสมบัติทางกายภาพ
|
สถานะ |
ของแข็ง
|
ความหนาแน่น (ใกล้ r.t.) |
2.985 ก./ซม.³
|
ความหนาแน่นของของเหลวที่m.p. |
2.80 ก./ซม.³
|
จุดหลอมเหลว |
1814 K (1541 °C)
|
จุดเดือด |
3109 K(2836 °C)
|
ความร้อนของการหลอมเหลว |
14.1 กิโลจูล/โมล
|
ความร้อนของการกลายเป็นไอ |
332.7 กิโลจูล/โมล
|
ความร้อนจำเพาะ |
(25 °C) 25.52 J/(mol·K)
|
ความดันไอ
P/Pa |
1 |
10 |
100 |
1 k |
10 k |
100 k
|
ที่ T K |
1645 |
1804 |
(2006) |
(2266) |
(2613) |
(3101)
|
|
คุณสมบัติของอะตอม
|
โครงสร้างผลึก |
รูปหกเหลี่ยม
|
สถานะออกซิเดชัน |
3 (ออกไซด์เป็นเบสอ่อน)
|
อิเล็กโตรเนกาติวิตี |
1.36 (พอลิงสเกล)
|
พลังงานไอออไนเซชัน (เพิ่มเติม)
|
ระดับที่ 1: 633.1 กิโลจูล/โมล
|
ระดับที่ 2: 1235.0 กิโลจูล/โมล
|
ระดับที่ 3: 2388.6 กิโลจูล/โมล
|
รัศมีอะตอม |
160 pm
|
รัศมีอะตอม (คำนวณ) |
184 pm
|
รัศมีโควาเลนต์ |
144 pm
|
อื่น ๆ
|
การจัดเรียงทางแม่เหล็ก |
???
|
ความต้านทานไฟฟ้า |
(r.t.) (α, poly) calc. 562 nΩ·m
|
การนำความร้อน |
(300 K) 15.8 W/(m·K)
|
การขยายตัวจากความร้อน |
(r.t.) (α, poly) 10.2 µm/(m·K)
|
มอดุลัสของยัง |
74.4 GPa
|
โมดูลัสของแรงเฉือน |
29.1 GPa
|
โมดูลัสของแรงบีบอัด |
56.6 GPa
|
อัตราส่วนปัวซง |
0.279
|
ความแข็งบริเนล |
750 MPa
|
เลขทะเบียน CAS |
7440-20-2
|
ไอโซโทปเสถียรที่สุด
|
|
แหล่งอ้างอิง
|
สแกนเดียม (อังกฤษ: Scandium) คือธาตุ ที่มีเลขอะตอม 21 และสัญลักษณ์คือ Sc สแกนเดียมอยู่ในตารางธาตุหมู่ 21 สแกนเดียมเป็นธาตุประเภททรานซิชัน (transition element) มีลักษณะสีขาวเงินอ่อนนุ่ม สแกนเดียมพบในแร่ธรรมชาติในประเทศแถบสแกนดิเนเวีย
ประวัติศาสตร์
ดมีตรี เมนเดเลเยฟ ผู้สร้างตารางธาตุ ได้ทำนายข้อมูลธาตุที่เขาเรียกว่า "เอคาโบรอน" (ekaboron) ไว้ว่าธาตุชนิดนี้มีมวลอะตอมอยู่ที่ 40 - 48 ในปี ค.ศ. 1869
สิบปีต่อมา ลาร์ส เฟรดริก นิลสัน ได้ค้นพบธาตุชนิดใหม่ในแร่ยูซีไนต์ (euxenite) และ กาโดลิไนต์ (gadolinite) จากสแกนดิเนเวีย โดยเขาได้ สแกนเดียมออกไซด์ ที่มีความบริสุทธิ์สูงจำนวน 2 กรัม. นิลสัน ได้ตั้งชื่อ สแกนเดียม ซึ่งมีที่มาจากภาษาละตินในคำว่า สแกนเดีย (Scandia) ที่หมายถึง "สแกนดิเนเวีย"[1]
อ้างอิง