ภาษาวาคี (วาคี: وخی /В̌aхi, สัทอักษรสากล: [waχi] ) เป็นภาษากลุ่มอิหร่าน กลุ่มย่อยอิหร่านตะวันออกเฉียงใต้
การจัดจำแนก
ภาษาวาคีเป็นกลุ่มของภาษาที่อยู่ในภาษากลุ่มปามีร์ บางครั้งเรียกภาษาปามีริสหรือภาษาทาจิกภูเขา จุดกำเนิดของภาษานี้อยู่ในวัคคาน ซึ่งถูกแยกไปอยู่ระหว่างอัฟกานิสถาน ตะวันออกเฉียงเหนือและจังหวัดปกครองตนเองโครโน-บาดักสถาน ในทาจิกิสถาน ประมาณว่ามีผู้พูดราว 50,000 คนทั่วโลก ชาววาคีอาศัยอยู่ในหลายประเทศคือทางเหนือของปากีสถาน ทาจิกิสถาน อัฟกานิสถาน และจีน
ในทาจิกิสถาน
โดยทั่วไปชาวทาจิกถือว่าเป็นสำเนียงของภาษาทาจิก แต่นักภาษาศาสตร์ทั่วไปแยกเป็นอีกภาษาต่างหาก แต่ในปากีสถาน ชาววาคีถือว่าตนเป็นชาวทาจิก
ในปากีสถาน
ในปากีสถาน องค์กรที่เกี่ยวข้องกับภาษาวาคีคือ สมาคมวัฒนธรรมวาคีทาจิก (WTCA) เน้นในด้านการอนุรักษ์ภาษาและวัฒนธรรมวาคี ทั้งที่เป็นเอกสารและดนตรี อัตราการรู้หนังสือของชาววาคีในปากีสถานเป็น 60% วิทยุในปากีสถานมีที่ออกอากาศเป็นภาษาวาคีด้วย
อักขรวิธี
เดิมที ภาษาวาคีไม่มีรูปอักษรของตนเอง ทำให้มีการพัฒนารูปเขียนโดยใช้อักษรอาหรับ , อักษรซีริลลิก และอักษรละติน
อักษรอาหรับ
อักษรอาหรับ โดยหลักแล้ว ใช้กันในประเทศอัฟกานิสถานและปากีสถาน:[ 5]
อักษรอาหรับ
อักษร (อัฟกานิสถาน)
ا
آ
ب
پ
ت
ټ
ث
ٿ
ج
ڃ
چ
ڇ
څ
ځ
ح
خ
د
ډ
ذ
ڎ
ر
ز
ږ
ژ
อักษร (ปากีสถาน)
ا
آ
ب
پ
ت
ٹ
ث
ٿ
ج
ڃ
چ
ڇ
څ
ڗ
ح
خ
د
ڈ
ذ
ڌ
ر
ز
ݝ
ژ
สัทอักษรสากล
[a], Ø
[o]
[b]
[p]
[t̪]
[ʈ]
[s]
[θ]
[d͡ʒ]
[ɖ͡ʐ]
[t͡ʃ]
[ʈ͡ʂ]
[t͡s]
[d͡z]
[h]
[χ]
[d̪]
[ɖ]
[z]
[ð]
[r]
[z]
[ɣ]
[ʒ]
อักษร (อัฟกานิสถาน)
ڙ
س
ش
ڜ
ښ
ص
ض
ط
ظ
ع
غ
ف
ڤ
ق
ک
گ
ل
م
ن
ه
و
ؤ
ی
ي
อักษร (ปากีสถาน)
ڙ
س
ش
ݜ
ݗ
ص
ض
ط
ظ
ع
غ
ف
ڤ
ق
ک
گ
ل
م
ن
ه
و
ؤ
ی
ے
สัทอักษรสากล
[ʐ]
[s]
[ʃ]
[ʂ]
[x]
[s]
[z]
[t]
[z]
Ø
[ʁ]
[f]
[v]
[q]
[k]
[g]
[l]
[m]
[n]
[h]
[w], [ə]
[ɨ]
[i], [e], [j]
[e]
อักษรซีริลลิก
อักษร
А а
Б б
В в
В̌ в̌
Г г
Ғ ғ
Г̌ г̌
Д д
Д̣ д̣
Д̌ д̌
Е е
Ё ё
Ж ж
Ж̣ ж̣
З з
Ҙ ҙ
И и
Й й
К к
Қ қ
Л л
М м
Н н
О о
П п
สัทอักษรสากล
[a]
[b]
[v]
[w]
[g]
[ʁ]
[ɣ]
[d̪]
[ɖ]
[ð]
[e], [je]
[jo]
[ʒ]
[ʐ]
[z]
[d͡z]
[i]
[j]
[k]
[q]
[l]
[m]
[n]
[o]
[p]
อักษร
Р р
С с
Т т
Т̣ т̣
Т̌ т̌
У у
Ф ф
Х х
Х̌ х̌
Ҳ ҳ
Ц ц
Ч ч
Ч̣ ч̣
Ҷ ҷ
Ҷ̣ ҷ̣
Ш ш
Ш̣ ш̣
Щ щ
Ъ ъ
Ы ы
Ә ә
Ь ь
Э э
Ю ю
Я я
สัทอักษรสากล
[r]
[s]
[t̪]
[ʈ]
[θ]
[u]
[f]
[χ]
[x]
[h]
[t͡s]
[t͡ʃ]
[ʈ͡ʂ]
[d͡ʒ]
[ɖ͡ʐ]
[ʃ]
[ʂ]
[ʃt͡ʃ]
Ø
[ɨ]
[ə]
Ø
[e]
[ju]
[ja]
อักษรละติน
Haqiqat Ali เป็นผู้พัฒนาภาษานี้เป็นอักษรละตินใน ค.ศ. 1984 :[ 6]
อักษรวาคีแบบใหม่
อักษร
A a
B b
C c
Č č
Č̣ č̣
D d
Ḍ ḍ
Δ δ
E e
Ə ə
F f
G g
Ɣ ɣ
Ɣ̌ ɣ̌
H h
I i
J̌ ǰ
J̣̌ ǰ̣
K k
L l
M m
N n
สัทอักษรสากล
[a]
[b]
[t͡s]
[t͡ʃ]
[ʈ͡ʂ]
[d̪]
[ɖ]
[ð]
[e]
[ə]
[f]
[g]
[ʁ]
[ɣ]
[h]
[i]
[d͡ʒ]
[ɖ͡ʐ]
[k]
[l]
[m]
[n]
อักษร
O o
P p
Q q
R r
S s
Š š
Ṣ̌ ṣ̌
T t
Ṭ ṭ
Θ ϑ
U u
V v
W w
X x
X̌ x̌
Y y
Z z
Ž ž
Ẓ̌ ẓ̌
Ʒ ʒ
Ы ы
สัทอักษรสากล
[o]
[p]
[q]
[r]
[s]
[ʃ]
[ʂ]
[t̪]
[ʈ]
[θ]
[u]
[v]
[w]
[χ]
[x]
[j]
[z]
[ʒ]
[ʐ]
[d͡z]
[ɨ]
ตัวอย่าง
ตัวอย่างคำแปลในคัมภีร์ไบเบิลใน ค.ศ. 2001 เป็นไปตามข้างล่างนี้:[ 7]
คำอธิษฐานขององค์พระผู้เป็นเจ้า (ลูกา 11:2–4)
ภาษาวาคีแบบอักษรละติน
ภาษาวาคีแบบอักษรซีริลลิก
ภาษาไทย (พระคริสตธรรมคัมภีร์ไทย ฉบับอมตธรรมร่วมสมัย)
2 Yiso yavər x̆atəy: «Sayišt ʒi dəo carəv, x̆anəv: „Ey bzыrgwor Tat ki də osmonət cəy! Ti bəzыrg nung bər olam ыmыt! Ləcər dəwroni Ti podšoyi ɣ̆at-ət, zəmin-ət zəmon də hыkmi taw ыmыt!
2 Йисо йавəр х̌атəй: «Сайишт ҙи дəо царəв, х̌анəв: „Ей бзыргв̌ор Тат ки дə осмонəт цəй! Ти бəзырг нунг бəр олам ымыт! Лəцəр дəв̌рони Ти подшойи г̌ат-əт, зəмин-əт зəмон дə ҳыкми тав̌ ымыт!
2 พระองค์จึงตรัสกับพวกเขาว่า “เมื่อพวกท่านอธิษฐาน จงทูลว่า “ ‘ข้าแต่พระบิดา ขอให้พระนามของพระองค์เป็นที่เทิดทูนสักการะ ขอให้อาณาจักรของพระองค์ได้รับการสถาปนาไว้
3 Spo rыsq-ət rыzi sakər nəsib car!
3 Спо рысқ-əт рызи сакəр нəсиб цар!
3 ขอโปรดประทานอาหารประจำวันแก่ข้าพระองค์ทั้งหลาย
4 Cə spo gənoən šəxs! Sak bə kuy, ki sakər šakiɣ̆, cə kərk! kыx̆tər baxṣ̌əṣ̌ carən. Cə bandi nafs-ət awasən, Cə waswasayi Iblisən saki niga δыr!“»
4 Цə спо гəноəн шəхс! Сак бə куй, ки сакəр шакиг̌ цə кəрк! Кых̌тəр бахш̣əш̣ царəн. Цə банди нафс-əт ав̌асəн, Цə в̌асв̌асайи Иблисəн саки нига д̌ыр!“»
4 ขอทรงอภัยบาปของข้าพระองค์ทั้งหลาย เพราะข้าพระองค์ทั้งหลายอภัยให้ทุกคนที่ทำผิดบาปต่อข้าพระองค์ทั้งหลายเช่นกัน และขออย่าให้ข้าพระองค์ทั้งหลายล้มลงเมื่อถูกทดลอง’ ”
คำศัพท์
การเปรียบเทียบศัพท์ในกลุ่มภาษาอิหร่าน 7 ภาษา [ 8]
ไทย
เปอร์เซีย
ทาจิก
ซุกนี
ซาริโกลี
ปาทาน
วาคี
อเวสตะ
หนึ่ง
jæk (یک)
jak (як)
jiw
iw
jaw (يو)
ji
aēuua-
เนื้อ
ɡuʃt (گوشت)
ɡuʃt (гушт)
ɡuːxt
ɡɯxt
ɣwaxa, ɣwaʂa (غوښه)
ɡuʂt
?
ลูกชาย
pesær (پسر)
pisar (писар)
puts
pɯts
zoi (زوی)
putr
puθra-
ไฟ
ɒteʃ (اتش)
otaʃ (оташ)
joːts
juts
or (اور)
rɯχniɡ
ātar-
น้ำ
ɒb (اب)
ob (об)
xats
xats
obə (اوبه)
jupk
āp-, ap-
มือ
dæst (دست)
dast (даѕт)
ðust
ðɯst
lɑs (لاس)
ðast
zasta-
เท้า
pɒ (پا)
po (по)
poːð
peð
pxa, pʂa (پښه)
pɯð
pāδ-
ฟัน
dændɒn (دندان)
dandon (дандон)
ðinðʉn
ðanðun
ɣɑx, ɣɑʂ (غاښ)
ðɯnðɯk
daṇt-
ดวงตา
tʃæʃm (چشم)
tʃaʃm (чашм)
tsem
tsem
stərɡa (سترګه)
tʂəʐm
cašman-
ม้า
æsb (اسب)
asp (асп)
voːrdʒ
vurdʒ
ɑs (ชาย), aspa (หญิง) (آس,اسپه)
jaʃ
aspa-
ก้อนเมฆ
æbr (ابر)
abr (абр)
abri
varm
urjadz (اوريځ)
mur
maēγa-, aβra-
ข้าว
ɡændom (گندم)
ɡandum (гандум)
ʒindam
ʒandam
ɣanam (غنم)
ɣɯdim
gaṇtuma-
จำนวนมาก
besjɒr (بسيار)
bisjor (бисёр)
bisjoːr
pɯr
ɖer (ډېر)
təqi
pouru-
สูง
bolænd (بلند)
baland (баланд)
biland
bɯland
lwaɻ (لوړ)
bɯland
bərəzaṇt-
ไกล
dur (دور)
dur (дур)
ðar
ðar
ləre (لرې)
ðir
dūra-
ดี
χub (خوب)
χub (хуб)
χub
tʃardʒ
xə, ʂə (ښه)
baf
vohu-, vaŋhu-
เล็ก
kutʃik (کوچک)
χurd (хурд)
dzul
dzɯl
ləɡ, ləʐ (لږ)
dzəqlai
?
เพื่อพูด
ɡoft (گفت)
ɡuft (гуфт)
lʉvd
levd
wajəl (ويل)
xənak
aoj-, mrū-, saŋh-
เพื่อทำ
kærd (کرد)
kard (кард)
tʃiːd
tʃeiɡ
kawəl (کول)
tsərak
kar-
เพื่อดู
did (ديد)/ bin (present stem)
did (дид)/ bin(бин)
wiːnt
wand
lid (لید)/ win (present stem)
wiŋɡ
dī-, vaēn-
สัทวิทยา
สระ
พยัญชนะ
อ้างอิง
↑ ภาษาวาคี ที่ Ethnologue (18th ed., 2015) (ต้องสมัครสมาชิก)
↑ Frye, R.N. (1984). The History of Ancient Iran . p. 192 . ISBN 9783406093975 . [T]hese western Saka he distinguishes from eastern Saka who moved south through the Kashgar-Tashkurgan-Gilgit-Swat route to the plains of the sub-continent of India. This would account for the existence of the ancient Khotanese-Saka speakers, documents of whom have been found in western Sinkiang, and the modern Wakhi language of Wakhan in Afghanistan, another modern branch of descendants of Saka speakers parallel to the Ossetes in the west.
↑ Bailey, H.W. (1982). The culture of the Sakas in ancient Iranian Khotan . Caravan Books. pp. 7–10. It is noteworthy that the Wakhi language of Wakhan has features, phonetics, and vocabulary the nearest of Iranian dialects to Khotan Saka.
↑ Carpelan, C.; Parpola, A.; Koskikallio, P. (2001). "Early Contacts Between Uralic and Indo-European: Linguistic and Archaeological Considerations: Papers Presented at an International Symposium Held at the Tvärminne Research Station of the University of Helsinki, 8–10 January, 1999". Suomalais-Ugrilainen Seura . 242 : 136. ...descendants of these languages survive now only in the Ossete language of the Caucasus and the Wakhi language of the Pamirs, the latter related to the Saka once spoken in Khotan.
↑ http://www.pamirian.ru/Wakhi_language_transition.pdf เก็บถาวร 2018-05-02 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
↑
Ali, Haqiqat (1984). Wakhi Language . Vol. 1.
↑ Luqo Inǰil (Gospel of Luke) . (in Wakhi). Bəzыrg Kitob tarǰimacrakыzg institute. 2001. : Title page , passages in Roman alphabet [1] , passages in Cyrillic alphabet [2]
↑ Gawarjon (高尔锵/Gāo Ěrqiāng) (1985). Outline of the Tajik language (塔吉克语简志/Tǎjíkèyǔ Jiǎnzhì) . Beijing: Nationalities Publishing House.
อ่านเพิ่ม
แหล่งข้อมูลอื่น