โมริยะ (บาลี : โมริย ) หรือ เมารยะ (สันสกฤต : मौर्य , เมารฺย ) เป็นจักรวรรดิ ซึ่งมีเนื้อที่กว้างใหญ่และมีอิทธิพลมากที่สุดจักรวรรดิหนึ่งในอินเดีย ปกครองโดยราชวงศ์โมริยะ (สันสกฤต : मौर्य राजवंश , เมารฺย ราชวํศ) ตั้งแต่ พ.ศ. 222–360 (322–184 ก่อน ค.ศ.) จักรวรรดิโมริยะมีรากฐานมาจากแคว้นมคธ ในบริเวณลุ่มแม่น้ำคงคา (ปัจจุบันคือรัฐพิหาร , ตะวันออกของรัฐอุตตรประเทศ และเบงกอล ) ทางด้านตะวันออกของชมพูทวีป เมืองหลวงของจักรวรรดิตั้งอยู่ที่เมืองปาฏลีบุตร (ไม่ไกลจากปัฏนา ปัจจุบัน)
ราชวงศ์โมริยะก่อตั้งขึ้นเมื่อ พ.ศ. 222 (322 ปีก่อนคริสต์ศักราช) โดยเจ้าชายจันทรคุปตเมารยะ ผู้โค่นล้มราชวงศ์นันทะ และทรงขยายอำนาจอย่างรวดเร็วไปทางตอนกลางและตะวันตกของประเทศอินเดีย โดยการฉวยโอกาสจากความปั่นป่วนในท้องถิ่นต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นหลังจากการถอยทัพไปทางตะวันตกของกองทัพกรีกและเปอร์เชียของพระเจ้าอเล็กซานเดอร์มหาราช เมื่อมาถึงปี พ.ศ. 224 (320 ปีก่อนคริสต์ศักราช) จักรวรรดิโมริยะก็ครอบครองบริเวณทางตะวันตกเฉียงเหนือของอินเดีย โจมตีและได้รับชัยชนะต่อแคว้นต่าง ๆ ที่เหลือของพระเจ้าอเล็กซานเดอร์มหาราช
ในสมัยที่รุ่งเรืองที่สุด จักรวรรดิโมริยะมีดินแดนทางตอนเหนือที่ติดกับแนวเทือกเขาหิมาลัย ทางตะวันออกไปจนถึงรัฐอัสสัม ปัจจุบัน ทางตะวันตกเลยจากประเทศปากีสถาน ผนวกบาโลชิสถาน และส่วนใหญ่ของอัฟกานิสถาน รวมทั้งเฮรัท และกันดะฮาร์ ปัจจุบัน จักรวรรดิโมริยะขยายตัวไปยังบริเวณตอนกลางของอินเดียและทางตอนใต้โดยพระเจ้าจันทรคุปตเมารยะ และพระเจ้าพินทุสาร แต่มิได้เข้าไปในบริเวณที่ยังไม่ได้สำรวจในบริเวณโอริศา ปัจจุบัน
จักรวรรดิโมริยะเป็นจักรวรรดิที่ใหญ่ที่สุดจักรวรรดิหนึ่งที่ปกครองชมพูทวีป และรุ่งเรืองที่สุดในรัชสมัยพระเจ้าอโศกมหาราช กษัตริย์องค์ที่ 3 ของราชวงศ์ ราวห้าสิบปีหลังสิ้นรัชกาลของพระองค์ อำนาจของจักรวรรดิเริ่มเสื่อมถอย และล่มสลายลงในปี พ.ศ. 360 (184 ก่อน ค.ศ) เนื่องจากกษัตริย์องค์สุดท้ายทรงถูกพวกพราหมณ์ตระกูลศุงคะทำรัฐประหารและปลงพระชนม์ พร้อมทั้งได้สถาปนาจักรวรรดิศุงคะ ขึ้นแทนที่จักรวรรดิโมริยะ
ลำดับกษัตริย์
พระเจ้าจันทรคุปตเมารยะ , พ.ศ. 222–246 (322–298 ก่อน ค.ศ.)
พระเจ้าพินทุสาร , พ.ศ. 246–272 (298–272 ก่อน ค.ศ.)
พระเจ้าอโศกมหาราช , พ.ศ. 276–312 (268–232 ก่อน ค.ศ.)
พระเจ้าทศรถ , พ.ศ. 312–320 (232–224 ก่อน ค.ศ.)
พระเจ้าสัมประติ , พ.ศ. 320–329 (224–215 ก่อน ค.ศ.)
พระเจ้าศาลิศุกะ , พ.ศ. 329–342 (215–202 ก่อน ค.ศ.)
พระเจ้าเทววรมัน , พ.ศ. 342–349 (202–195 ก่อน ค.ศ.)
พระเจ้าศตธันวัน , พ.ศ. 349–357 (195–187 ก่อน ค.ศ.)
พระเจ้าพฤหทรถะเมารยะ , พ.ศ. 357–360 (187–184 ก่อน ค.ศ.)
ราชอาณาจักรยุคกลางของอินเดีย
เส้นเวลาและ วัฒนธรรม
อินเดียตะวันตกเฉียงเหนือ (ปัญจาบ -สัปตสินธุ )
ที่ราบลุ่มแม่น้ำสินธุ-คงคา
อินเดียกลาง
อินเดียใต้
ที่ราบลุ่มแม่น้ำคงคาตอนบน (doab คงคา-ยมุนา )
ที่ราบลุ่มแม่น้ำคงคาตอนกลาง
ที่ราบลุ่มแม่น้ำคงคาตอนล่าง
ยุคเหล็ก
วัฒนธรรม
สมัยพระเวท ตอนปลาย
สมัยพระเวท ตอนปลาย (วัฒนธรรม Srauta )[ a] วัฒนธรรมเครื่องเคลือบสีเทา
สมัยพระเวท ตอนปลาย (วัฒนธรรมสมณะ )[ b] เครื่องเคลือบสีดำตอนเหนือ
ก่อนประวัติศาสตร์
ศตวรรษที่ 6 ก่อน ค.ศ.
คันธาระ
กุรุ -ปัญจาละ
มคธ
อาทิวาสี (เผ่า)
Assaka
วัฒนธรรม
อิทธิพลเปอร์เซีย-กรีก
"การขยายเขตเมืองครั้งที่สอง " จุดรุ่งเรืองของขบวนการสมณะ ศาสนาเชน - ศาสนาพุทธ - Ājīvika - โยคะ
ก่อนประวัติศาสตร์
ศตวรรษที่ 5 ก่อน ค.ศ.
(การพิชิตของเปอร์เซีย )
ราชวงศ์ศิศุนาค
อาทิวาสี (เผ่า)
Assaka
ศตวรรษที่ 4 ก่อน ค.ศ.
(การพิชิตของกรีก )
จักรวรรดินันทะ
สมัยประวัติศาสตร์
วัฒนธรรม
การเผยแผ่ศาสนาพุทธ
ก่อนประวัติศาสตร์
ศตวรรษที่ 3 ก่อน ค.ศ.
จักรวรรดิเมารยะ
ราชวงศ์สาตวาหนะ Sangam period (300 ปีก่อน ค.ศ. – ค.ศ. 200)โจฬะตอนต้น ราชอาณาจักรปัณฑยะตอนต้น เจระ
วัฒนธรรม
ฮินดูก่อนคลาสสิก [ c] - "ฮินดูสังเคราะห์" [ d] (ประมาณ 200 ปีก่อน ค.ศ. - ค.ศ. 300)[ e] [ f] มหากาพย์ - ปุราณะ - รามายณะ - มหาภารตะ - ภควัตคีตา - พรหมสูตร - Smarta Tradition พุทธมหายาน
ศตวรรษที่ 2 ก่อน ค.ศ.
อาณาจักรอินโด-กรีก
จักรวรรดิศุงคะ Maha-Meghavahana Dynasty
ราชวงศ์สาตวาหนะ Sangam period (300 ปีก่อน ค.ศ. – ค.ศ. 200)โจฬะตอนต้น ราชอาณาจักรปัณฑยะตอนต้น เจระ
ศตวรรษที่ 1 ก่อน ค.ศ.
คริสต์ศตวรรษที่ 1
อินโด-ไซเทีย
อินโด-พาร์เทีย
ราชอาณาจักรกุนินทะ
คริสต์ศตวรรษที่ 2
จักรวรรดิกุษาณะ
คริสต์ศตวรรษที่ 3
ราชอาณาจักรกุษาณะ-ซาเซเนียน
จักรวรรดิกุษาณะ
เซแทร็ปตะวันตก
ราชอาณาจักร Kamarupa
อาทิวาสี (เผ่า)
วัฒนธรรม
"ยุคทองของศาสนาฮินดู" (ปรพมาณ ค.ศ. 320-650)[ g] ปุราณะ การอยู่ร่วมกันระหว่างศาสนาฮินดูและพุทธ
คริสต์ศตวรรษที่ 4
Kidarites
จักรวรรดิคุปตะ ราชวงศ์วารมัน
Andhra Ikshvakus Kalabhra dynasty ราชวงศ์กทัมพะ ราชวงศ์คงคาตะวันตก
คริสต์ศตวรรษที่ 5
จักรวรรดิเฮฟทาไลต์
อัลชอนฮัน
Vishnukundina Kalabhra dynasty
คริสต์ศตวรรษที่ 6
เนซักฮัน คาบูลชาฮี
Maitraka
อาทิวาสี (เผ่า)
Vishnukundina Badami Chalukyas Kalabhra dynasty
วัฒนธรรม
ฮินดูคลาสสิกตอนปลาย (ประมาณ ค.ศ. 650-1100)[ h] Advaita Vedanta - ตันตระ การเสื่อมถอยของศาสนาพุทธในอินเดีย
คริสต์ศตวรรษที่ 7
อินโด-ซาเซเนียน
Vakataka dynasty จักรวรรดิหรรษวรรธนะ
Mlechchha dynasty
อาทิวาสี (เผ่า)
Badami Chalukyas จาลุกยะตะวันออก ราชอาณาจักรปัณฑยะ (ฟื้นฟู) ปัลลวะ
คริสต์ศตวรรษที่ 8
คาบูลชาฮี
จักรวรรดิปาละ
จาลุกยะตะวันออก ราชอาณาจักรปัณฑยะ Kalachuri
คริสต์ศตวรรษที่ 9
Gurjara-Pratihara
Rashtrakuta dynasty จาลุกยะตะวันออก ราชอาณาจักรปัณฑยะ โจฬะตอนกลาง Chera Perumals of Makkotai
คริสต์ศตวรรษที่ 10
กาสนาวิยะห์
ราชวงศ์ปาละ ราชวงศ์ Kamboja-ปาละ
กัลยาณีจาลุกยะ จาลุกยะตะวันออก โจฬะตอนกลาง Chera Perumals of Makkotai ราษฏรกูฏ
References and sources for table
อ้างอิง
↑ Samuel
↑ Samuel
↑ Michaels (2004) p.39
↑ Hiltebeitel (2002)
↑ Michaels (2004) p.39
↑ Hiltebeitel (2002)
↑ Michaels (2004) p.40
↑ Michaels (2004) p.41
ข้อมูล
Flood, Gavin D. (1996), An Introduction to Hinduism , Cambridge University Press
Hiltebeitel, Alf (2002), Hinduism. In: Joseph Kitagawa, "The Religious Traditions of Asia: Religion, History, and Culture" , Routledge
Michaels, Axel (2004), Hinduism. Past and present , Princeton, New Jersey: Princeton University Press
Samuel, Geoffrey (2010), The Origins of Yoga and Tantra. Indic Religions to the Thirteenth Century , Cambridge University Press
อ้างอิง
↑ Nath sen, Sailendra (1999). Ancient Indian History and Civilization . Routledge. p. 164.
↑ 2.0 2.1 2.2 Bronkhorst, Johannes ; Flood, Gavin (July 2020). The Oxford History of Hinduism: Hindu Practice (ภาษาอังกฤษ). Oxford University Press. p. 68. ISBN 978-0-19-873350-8 .
↑ Omvedt, Gail (18 August 2003). Buddhism in India: Challenging Brahmanism and Caste (ภาษาอังกฤษ). SAGE Publications. p. 119. ISBN 978-0-7619-9664-4 .
↑ Smith, vincent A. (1981). The Oxford History Of India Part. 1-3, Ed. 4th . Oxford University Press. p. 99. the only direct evidence throwing light ....is that of Jain tradition. ...it may be that he embraced Jainism towards the end of his reign. ...after much consideration I am inclined to accept the main facts as affirmed by tradition .... no alternative account exists.
↑ Dalrymple, William (2009-10-07). Nine Lives: In Search of the Sacred in Modern India (ภาษาอังกฤษ). Bloomsbury Publishing. ISBN 978-1-4088-0341-7 . It was here, in the third century BC, that the first Emperor of India, Chandragupta Maurya, embraced the Jain religion and died through a self-imposed fast to the death,......
↑ Keay, John (1981). India: A History (ภาษาอังกฤษ). Open Road + Grove/Atlantic. pp. 85–86. ISBN 978-0-8021-9550-0 .
↑ 7.0 7.1 Long, Jeffery D. (15 April 2020). Historical Dictionary of Hinduism (ภาษาอังกฤษ). Rowman & Littlefield. p. 255. ISBN 978-1-5381-2294-5 .
↑ Avari, Burjor (2007). India, the Ancient Past: A History of the Indian Sub-continent from C. 7000 BC to AD 1200 Taylor & Francis. ISBN 0415356156 . pp. 188-189.
↑ Peter Turchin, Jonathan M. Adams, and Thomas D. Hall. East-West Orientation of Historical Empires. เก็บถาวร 2006-11-10 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน University of Connecticut , November 2004.
↑ Roger Boesche (2003). "Kautilya’s Arthashastra on War and Diplomacy in Ancient India", The Journal of Military History 67 (p. 12).
↑ Colin McEvedy and Richard Jones (1978), "Atlas of World Population History", Facts on File (p. 342-351). New York.
โบราณ ยุคกลาง ยุคใหม่ หมายเหตุ: เรียงลำดับตามปีการก่อตั้ง เลขในวงเล็บหลังชื่อแสดงปีการก่อตั้ง