Share to:

 

หมายเลขขบวนรถไฟ (การรถไฟแห่งประเทศไทย)

หมายเลขขบวนรถไฟ คือเลขกำกับขบวนรถไฟของการรถไฟแห่งประเทศไทย ใช้เรียกชื่อขบวนรถ เป็นตัวเลข เพื่อสะดวกในการใช้โทรเลข, ในการเดินรถ และผู้ปฏิบัติงานเข้าใจง่ายไม่สับสน โดยกำหนดสถานีกรุงเทพ (หัวลำโพง) และสถานีธนบุรีเป็นหลัก โดยขบวนรถที่มีต้นทางจากสถานีกรุงเทพ (หัวลำโพง) หรือสถานีธนบุรี หรือเที่ยวขึ้น จะใช้เลขขบวนรถเป็นเลขคี่ และขบวนรถที่มีปลายทางสถานีกรุงเทพ (หัวลำโพง) หรือสถานีธนบุรี หรือเที่ยวล่อง ใช้เลขขบวนรถเป็นเลขคู่

การรถไฟยังได้มีการกำหนดหมายเลขให้แตกต่างกัน โดยเรียงจากหมายเลขมีจำนวนน้อยไปหาจำจำนวนมาก ตามประเภทหรือความสำคัญของขบวนรถนั้น กล่าวคือ ยิ่งมีตัวเลขน้อยแปลว่า เป็นประเภทรถที่มีความสำคัญมากที่สุด ส่วนมีตัวเลขมาก แปลว่ามีความสำคัญน้อยลงมา ตามลำดับ[1]

หลักการตั้งหมายเลขขบวนรถไฟ

หลักการตั้งหมายเลขขบวนรถไฟตามระเบียบการรถไฟแห่งประเทศไทย อ้างอิงตามประเภทขบวน ทิศทาง ความสำคัญและลำดับการเกิดขึ้นของขบวนรถ โดยแบ่งได้ 12 ประเภท ดังนี้

  • เลขสามหลักขึ้นต้นด้วยเลข 1 คือรถเร็ว
  • เลขสามหลักขึ้นต้นด้วยเลข 2 คือรถธรรมดา
  • เลขสามหลักขึ้นต้นด้วยเลข 3 คือรถชานเมืองและรถพิเศษชานเมือง
  • เลขสามหลักขึ้นต้นด้วยเลข 4 คือรถท้องถิ่นและรถรวม  
  • เลขสามหลักขึ้นต้นด้วยเลข 5 คือรถสินค้าสายตะวันออกเฉียงเหนือ
  • เลขสามหลักขึ้นต้นด้วยเลข 6 คือรถสินค้าสายเหนือ
  • เลขสามหลักขึ้นต้นดัวยเลข 7 คือรถสินค้าสายใต้
  • เลขสามหลักขึ้นต้นด้วยเลข 8 คือรถสินค้าสายตะวันออก
  • เลขสามหลักขึ้นต้นด้วยเลข 9 คือรถท่องเที่ยวพิเศษ
  • เลขสี่หลักขึ้นไป เป็นรถพิเศษอื่น ๆ

ประเภทและหมายเลขขบวนรถไฟ

ขบวนด่วนพิเศษ

ขบวนด่วนพิเศษที่ 9 (อุตราวิถี) จอดที่สถานีบ้านปิน
ขบวนรถด่วนพิเศษที่ 21 เข้าสู่สถานีบุรีรัมย์

ขบวนด่วนพิเศษ (Special Express; ดพ-X/ดพ-XX)[2] เป็นขบวนรถที่จัดเดินระยะทางไกล โดยหยุดที่สถานีที่สำคัญเท่านั้น ทั้งขบวนรถเป็นรถปรับอากาศและเป็นชั้นสองและหนึ่งทั้งขบวน จะมีหมายเลขตั้งแต่เลขที่ 1–50 ในปัจจุบันมีอยู่ 26 หมายเลข ดังนี้

ขบวนด่วนพิเศษ
ลำดับที่ หมายเลข ประเภทขบวนรถ เส้นทาง เที่ยว ต้นทาง ปลายทาง สถานะ
1 3 ด่วนพิเศษ (ดีเซลราง) สายเหนือ ขึ้น กรุงเทพอภิวัฒน์ สวรรคโลก - ศิลาอาสน์ งดให้บริการ (พบข้อมูลในระบบ)[3]
4 ด่วนพิเศษ (ดีเซลราง) สายเหนือ ล่อง ศิลาอาสน์ กรุงเทพอภิวัฒน์
2 7 ด่วนพิเศษ (ดีเซลราง) สายเหนือ ขึ้น กรุงเทพอภิวัฒน์ เชียงใหม่ เปิดให้บริการปกติ
8 ด่วนพิเศษ (ดีเซลราง) สายเหนือ ล่อง เชียงใหม่ กรุงเทพอภิวัฒน์
3 9 ด่วนพิเศษ "อุตราวิถี" สายเหนือ ขึ้น กรุงเทพอภิวัฒน์ เชียงใหม่
10 ด่วนพิเศษ "อุตราวิถี" สายเหนือ ล่อง เชียงใหม่ กรุงเทพอภิวัฒน์
4 13 ด่วนพิเศษ สายเหนือ ขึ้น กรุงเทพอภิวัฒน์ เชียงใหม่
14 ด่วนพิเศษ สายเหนือ ล่อง เชียงใหม่ กรุงเทพอภิวัฒน์
5 21 ด่วนพิเศษ (ดีเซลราง) สายตะวันออกเฉียงเหนือ ขึ้น กรุงเทพอภิวัฒน์ อุบลราชธานี
22 ด่วนพิเศษ (ดีเซลราง) สายตะวันออกเฉียงเหนือ ล่อง อุบลราชธานี กรุงเทพอภิวัฒน์
6 23 ด่วนพิเศษ "อีสานวัตนา" สายตะวันออกเฉียงเหนือ ขึ้น กรุงเทพอภิวัฒน์ อุบลราชธานี
24 ด่วนพิเศษ "อีสานวัตนา" สายตะวันออกเฉียงเหนือ ล่อง อุบลราชธานี กรุงเทพอภิวัฒน์
7 25 ด่วนพิเศษ "อีสานมรรคา" สายตะวันออกเฉียงเหนือ ขึ้น กรุงเทพอภิวัฒน์ หนองคาย
26 ด่วนพิเศษ "อีสานมรรคา" สายตะวันออกเฉียงเหนือ ล่อง หนองคาย กรุงเทพอภิวัฒน์
8 31 ด่วนพิเศษ "ทักษิณารัถย์" สายใต้ ขึ้น กรุงเทพอภิวัฒน์ ชุมทางหาดใหญ่
32 ด่วนพิเศษ "ทักษิณารัถย์" สายใต้ ล่อง ชุมทางหาดใหญ่ กรุงเทพอภิวัฒน์
9 37 ด่วนพิเศษ "ทักษิณ" สายใต้ ขึ้น กรุงเทพอภิวัฒน์ สุไหงโก-ลก
38 ด่วนพิเศษ "ทักษิณ" สายใต้ ล่อง สุไหงโก-ลก กรุงเทพอภิวัฒน์
10 39 ด่วนพิเศษ (ดีเซลราง) สายใต้ ขึ้น กรุงเทพอภิวัฒน์ สุราษฎร์ธานี
40 ด่วนพิเศษ (ดีเซลราง) สายใต้ ล่อง สุราษฎร์ธานี กรุงเทพอภิวัฒน์
11 41 ด่วนพิเศษ (ดีเซลราง) สายใต้ ขึ้น กรุงเทพอภิวัฒน์ ยะลา งดให้บริการ (พบข้อมูลในระบบ)[4]
42 ด่วนพิเศษ (ดีเซลราง) สายใต้ ล่อง ยะลา กรุงเทพอภิวัฒน์
12 43 ด่วนพิเศษ (ดีเซลราง) สายใต้ ขึ้น กรุงเทพอภิวัฒน์ สุราษฎร์ธานี เปิดให้บริการปกติ
44 ด่วนพิเศษ (ดีเซลราง) สายใต้ ล่อง สุราษฎร์ธานี กรุงเทพอภิวัฒน์
13 45 ด่วนพิเศษ "ระหว่างประเทศ" สายใต้ ขึ้น กรุงเทพอภิวัฒน์ ปาดังเบซาร์ (มาเลเซีย)
46 ด่วนพิเศษ "ระหว่างประเทศ" สายใต้ ล่อง ปาดังเบซาร์ (มาเลเซีย) กรุงเทพอภิวัฒน์

ขบวนรถด่วน

ขบวนรถด่วนที่ 85/86
ขบวนรถด่วนดีเซลรางที่ 75 กรุงเทพ – หนองคาย

ขบวนรถด่วน (Express; ด-XX)[2] เป็นขบวนรถที่จัดเดินระยะทางไกล หยุดสถานีที่สำคัญเท่านั้น แต่มีการให้บริการของชนิดรถพ่วงและจอดสถานีมากกว่าขบวนรถด่วนพิเศษ จะมีตั้งแต่หมายเลข 51-98 ในปัจจุบันมีทั้งหมด 16 หมายเลข ดังนี้

ขบวนรถด่วน
ลำดับที่ หมายเลข ประเภทขบวนรถ เส้นทาง เที่ยว ต้นทาง ปลายทาง สถานะ
1 51 ด่วน สายเหนือ ขึ้น กรุงเทพอภิวัฒน์ เชียงใหม่ เปิดให้บริการปกติ
52 ด่วน สายเหนือ ล่อง เชียงใหม่ กรุงเทพอภิวัฒน์
2 67 ด่วน สายตะวันออกเฉียงเหนือ ขึ้น กรุงเทพอภิวัฒน์ อุบลราชธานี
68 ด่วน สายตะวันออกเฉียงเหนือ ล่อง อุบลราชธานี กรุงเทพอภิวัฒน์
3 71 ด่วน (ดีเซลราง) สายตะวันออกเฉียงเหนือ ขึ้น กรุงเทพอภิวัฒน์ อุบลราชธานี
72 ด่วน (ดีเซลราง) สายตะวันออกเฉียงเหนือ ล่อง อุบลราชธานี กรุงเทพอภิวัฒน์
4 75 ด่วน (ดีเซลราง) สายตะวันออกเฉียงเหนือ ขึ้น กรุงเทพอภิวัฒน์ หนองคาย
76 ด่วน (ดีเซลราง) สายตะวันออกเฉียงเหนือ ล่อง หนองคาย กรุงเทพอภิวัฒน์
5 77 ด่วน (ดีเซลราง) สายตะวันออกเฉียงเหนือ ขึ้น กรุงเทพอภิวัฒน์ หนองคาย งดให้บริการ (ไม่พบข้อมูลในระบบ)[5]
78 ด่วน (ดีเซลราง) สายตะวันออกเฉียงเหนือ ล่อง หนองคาย กรุงเทพอภิวัฒน์
6 83 ด่วน สายใต้ ขึ้น กรุงเทพอภิวัฒน์ ตรัง เปิดให้บริการปกติ
84 ด่วน สายใต้ ล่อง ตรัง กรุงเทพอภิวัฒน์
7 85 ด่วน สายใต้ ขึ้น กรุงเทพอภิวัฒน์ นครศรีธรรมราช
86 ด่วน สายใต้ ล่อง นครศรีธรรมราช กรุงเทพอภิวัฒน์

บางขบวนหมายเลขไม่ได้อยู่ในเลข 51-98 แต่จัดเป็นประเภทรถด่วน ได้แก่

รถด่วน (สปรินเตอร์) ที่ 997 จอดที่สถานีบ้านพลูตาหลวง
ขบวนรถด่วน
ลำดับที่ หมายเลข ประเภทขบวนรถ เส้นทาง เที่ยว ต้นทาง ปลายทาง สถานะ
8 997 ด่วน (ดีเซลราง) สายตะวันออก ขึ้น กรุงเทพ (หัวลำโพง) จุกเสม็ด เปิดให้บริการเฉพาะวันเสาร์-อาทิตย์
998 ด่วน (ดีเซลราง) สายตะวันออก ล่อง จุกเสม็ด กรุงเทพ (หัวลำโพง)

ขบวนรถเร็ว

ขบวนรถเร็ว (Rapid; ร-1XX)[2] เป็นขบวนรถที่จัดเดินระยะทางไกล จอดสถานีมากกว่าขบวนรถด่วน ชนิดรถพ่วงคล้ายกับรถด่วนแต่ไม่มีการพ่วงรถโบกี้นั่งและนอนชั้นที่ 1 ปรับอากาศ (บนอ.ป.) ขบวนรถเร็วจะมีหมายเลข 3 หลัก และขึ้นต้นด้วยเลข 1 (1XX) ในปัจจุบันมีทั้งหมด 28 หมายเลข ได้แก่

ขบวนรถเร็ว
ลำดับที่ หมายเลข ประเภทขบวนรถ เส้นทาง เที่ยว ต้นทาง ปลายทาง สถานะ
1 105 เร็ว (ดีเซลราง) สายเหนือ ขึ้น กรุงเทพอภิวัฒน์ ศิลาอาสน์ งดให้บริการ (พบข้อมูลในระบบ) [6]
106 เร็ว (ดีเซลราง) สายเหนือ ล่อง ศิลาอาสน์ กรุงเทพอภิวัฒน์
2 107 เร็ว สายเหนือ ขึ้น กรุงเทพอภิวัฒน์ เด่นชัย เปิดให้บริการปกติ
112 เร็ว สายเหนือ ล่อง เด่นชัย กรุงเทพอภิวัฒน์
3 109 เร็ว สายเหนือ ขึ้น กรุงเทพอภิวัฒน์ เชียงใหม่
102 เร็ว สายเหนือ ล่อง เชียงใหม่ กรุงเทพอภิวัฒน์
4 111 เร็ว สายเหนือ ขึ้น กรุงเทพอภิวัฒน์ เด่นชัย
108 เร็ว สายเหนือ ล่อง เด่นชัย กรุงเทพอภิวัฒน์
5 133 เร็ว สายตะวันออกเฉียงเหนือ ขึ้น กรุงเทพอภิวัฒน์ เวียงจันทร์ (คำสะหวาด) เปิดให้บริการปกติ
134 เร็ว สายตะวันออกเฉียงเหนือ ล่อง เวียงจันทร์ (คำสะหวาด) กรุงเทพอภิวัฒน์
6 135 เร็ว สายตะวันออกเฉียงเหนือ ขึ้น กรุงเทพอภิวัฒน์ อุบลราชธานี
136 เร็ว สายตะวันออกเฉียงเหนือ ล่อง อุบลราชธานี กรุงเทพอภิวัฒน์
7 139 เร็ว สายตะวันออกเฉียงเหนือ ขึ้น กรุงเทพอภิวัฒน์ อุบลราชธานี
140 เร็ว สายตะวันออกเฉียงเหนือ ล่อง อุบลราชธานี กรุงเทพอภิวัฒน์
8 141 เร็ว สายตะวันออกเฉียงเหนือ ขึ้น กรุงเทพอภิวัฒน์ อุบลราชธานี
142 เร็ว สายตะวันออกเฉียงเหนือ ล่อง อุบลราชธานี กรุงเทพอภิวัฒน์
9 145 เร็ว สายตะวันออกเฉียงเหนือ ขึ้น กรุงเทพอภิวัฒน์ อุบลราชธานี งดให้บริการ (ไม่พบข้อมูลในระบบ)[7]
146 เร็ว สายตะวันออกเฉียงเหนือ ล่อง อุบลราชธานี กรุงเทพอภิวัฒน์
10 167 เร็ว สายใต้ ขึ้น กรุงเทพอภิวัฒน์ กันตัง เปิดให้บริการปกติ
168 เร็ว สายใต้ ล่อง กันตัง กรุงเทพอภิวัฒน์
11 169 เร็ว สายใต้ ขึ้น กรุงเทพอภิวัฒน์ ยะลา
170 เร็ว สายใต้ ล่อง ยะลา กรุงเทพอภิวัฒน์
12 171 เร็ว สายใต้ ขึ้น กรุงเทพอภิวัฒน์ สุไหงโก-ลก
172 เร็ว สายใต้ ล่อง สุไหงโก-ลก กรุงเทพอภิวัฒน์
13 173 เร็ว สายใต้ ขึ้น กรุงเทพอภิวัฒน์ นครศรีธรรมราช งดให้บริการ (พบข้อมูลในระบบ)[8]
174 เร็ว สายใต้ ล่อง นครศรีธรรมราช กรุงเทพอภิวัฒน์
14 175 เร็ว สายใต้ ขึ้น กรุงเทพอภิวัฒน์ ชุมทางหาดใหญ่ - สุไหงโก-ลก เปิดให้บริการปกติ
176 เร็ว สายใต้ ล่อง สุไหงโก-ลก กรุงเทพอภิวัฒน์

ขบวนรถธรรมดา

ขบวนรถธรรมดา (Ordinary; ธ-2XX)[2][9] เป็นขบวนรถที่จัดเดินเพื่อให้บริการแก่ผู้โดยสารเดินทางไปยังส่วนภูมิภาคต่าง ๆ ทั่วประเทศไทย มีระยะทำการสั้นกว่าขบวนรถด่วนพิเศษ, ด่วน และ เร็ว โดยหยุดจอดทุกสถานีในเส้นทาง ขบวนรถธรรมดาจะมีหมายเลข 3 หลัก และขึ้นต้นด้วยเลข 2 (2XX) ในปัจจุบันมีทั้งหมด 88 หมายเลข ได้แก่

ขบวนรถธรรมดา
ลำดับที่ หมายเลข ประเภทขบวนรถ เส้นทาง เที่ยว ต้นทาง ปลายทาง สถานะ
1 201 ธรรมดา สายเหนือ ขึ้น กรุงเทพ (หัวลำโพง) พิษณุโลก เปิดให้บริการปกติ
202 ธรรมดา สายเหนือ ล่อง พิษณุโลก กรุงเทพ (หัวลำโพง)
2 207 ธรรมดา สายเหนือ ขึ้น กรุงเทพ (หัวลำโพง) นครสวรรค์
208 ธรรมดา สายเหนือ ล่อง นครสวรรค์ กรุงเทพ (หัวลำโพง)
3 209 ธรรมดา (ดีเซลราง) สายเหนือ ขึ้น กรุงเทพ (หัวลำโพง) บ้านตาคลี
210 ธรรมดา (ดีเซลราง) สายเหนือ ล่อง บ้านตาคลี กรุงเทพ (หัวลำโพง)
4 211 ธรรมดา สายเหนือ ขึ้น กรุงเทพ (หัวลำโพง) ตะพานหิน
212 ธรรมดา สายเหนือ ล่อง ตะพานหิน กรุงเทพ (หัวลำโพง)
5 233 ธรรมดา สายตะวันออกเฉียงเหนือ ขึ้น กรุงเทพ (หัวลำโพง) สุรินทร์
234 ธรรมดา สายตะวันออกเฉียงเหนือ ล่อง สุรินทร์ กรุงเทพ (หัวลำโพง)
6 251 ธรรมดา สายใต้ ขึ้น ธนบุรี ประจวบคีรีขันธ์
252 ธรรมดา สายใต้ ล่อง ประจวบคีรีขันธ์ ธนบุรี
7 255 ธรรมดา สายใต้ ขึ้น ธนบุรี หลังสวน
256 ธรรมดา สายใต้ ล่อง หลังสวน ธนบุรี
8 257 ธรรมดา ทางรถไฟสายน้ำตก ขึ้น ธนบุรี น้ำตก
258 ธรรมดา ทางรถไฟสายน้ำตก ล่อง น้ำตก ธนบุรี
9 259 ธรรมดา ทางรถไฟสายน้ำตก ขึ้น ธนบุรี น้ำตก
260 ธรรมดา ทางรถไฟสายน้ำตก ล่อง น้ำตก ธนบุรี
10 261 ธรรมดา (ดีเซลราง) สายใต้ ขึ้น กรุงเทพ (หัวลำโพง) สวนสนประดิพัทธ์
262 ธรรมดา (ดีเซลราง) สายใต้ ล่อง สวนสนประดิพัทธ์ กรุงเทพ (หัวลำโพง)
11 275 ธรรมดา สายตะวันออก ขึ้น กรุงเทพ (หัวลำโพง) ด่านพรมแดนบ้านคลองลึก
276 ธรรมดา สายตะวันออก ล่อง ด่านพรมแดนบ้านคลองลึก กรุงเทพ (หัวลำโพง)
12 277 ธรรมดา สายตะวันออก ขึ้น กรุงเทพ (หัวลำโพง) กบินทร์บุรี
278 ธรรมดา สายตะวันออก ล่อง กบินทร์บุรี กรุงเทพ (หัวลำโพง)
13 279 ธรรมดา (ดีเซลราง) สายตะวันออก ขึ้น กรุงเทพ (หัวลำโพง) ด่านพรมแดนบ้านคลองลึก
280 ธรรมดา (ดีเซลราง) สายตะวันออก ล่อง ด่านพรมแดนบ้านคลองลึก กรุงเทพ (หัวลำโพง)
14 281 ธรรมดา (ดีเซลราง) สายตะวันออก ขึ้น กรุงเทพ (หัวลำโพง) กบินทร์บุรี
282 ธรรมดา (ดีเซลราง) สายตะวันออก ล่อง กบินทร์บุรี กรุงเทพ (หัวลำโพง)
15 283 ธรรมดา สายตะวันออก ขึ้น กรุงเทพ (หัวลำโพง) จุกเสม็ด
284 ธรรมดา สายตะวันออก ล่อง จุกเสม็ด กรุงเทพ (หัวลำโพง)
16 285 ธรรมดา สายตะวันออก ขึ้น กรุงเทพ (หัวลำโพง) ชุมทางฉะเชิงเทรา งดให้บริการ (พบข้อมูลในระบบ)[10]
286 ธรรมดา สายตะวันออก ล่อง ชุมทางฉะเชิงเทรา กรุงเทพ (หัวลำโพง)

นอกจากนี้ บางขบวนอาจจะมีหมายเลขขึ้นต้นด้วยเลขอื่น แต่ก็จัดเป็นประเภท ขบวนรถธรรมดา ได้แก่

ขบวนรถธรรมดา
ลำดับที่ หมายเลข ประเภทขบวนรถ เส้นทาง เที่ยว ต้นทาง ปลายทาง สถานะ
16 147 ธรรมดา สายตะวันออกเฉียงเหนือ ขึ้น อุดรธานี เวียงจันทร์ (คำสะหวาด) เปิดให้บริการปกติ
148 ธรรมดา สายตะวันออกเฉียงเหนือ ล่อง เวียงจันทร์ (คำสะหวาด) อุดรธานี
17 351 ธรรมดา สายใต้ ขึ้น ธนบุรี ราชบุรี
352 ธรรมดา สายใต้ ล่อง ราชบุรี ธนบุรี
18 367 ธรรมดา สายตะวันออก ขึ้น กรุงเทพ (หัวลำโพง) ชุมทางฉะเชิงเทรา
368 ธรรมดา สายตะวันออก ล่อง ชุมทางฉะเชิงเทรา กรุงเทพ (หัวลำโพง)
19 371 ธรรมดา สายตะวันออก ขึ้น กรุงเทพ (หัวลำโพง) ปราจีนบุรี
372 ธรรมดา สายตะวันออก ล่อง ปราจีนบุรี กรุงเทพ (หัวลำโพง)
20 379 ธรรมดา สายตะวันออก ขึ้น กรุงเทพ (หัวลำโพง) หัวตะเข้
380 ธรรมดา สายตะวันออก ล่อง หัวตะเข้ กรุงเทพ (หัวลำโพง)
21 381 ธรรมดา สายตะวันออก ขึ้น กรุงเทพ (หัวลำโพง) ชุมทางฉะเชิงเทรา งดให้บริการ (ไม่พบข้อมูลในระบบ)[11]
382 ธรรมดา สายตะวันออก ล่อง ชุมทางฉะเชิงเทรา กรุงเทพ (หัวลำโพง)
22 383 ธรรมดา สายตะวันออก ขึ้น กรุงเทพ (หัวลำโพง) ชุมทางฉะเชิงเทรา เปิดให้บริการปกติ
384 ธรรมดา สายตะวันออก ล่อง ชุมทางฉะเชิงเทรา กรุงเทพ (หัวลำโพง)
ขบวนรถไฟสายแม่กลองขณะผ่านตลาดร่มหุบ

ทางรถไฟสายแม่กลอง ทางรถไฟที่เดินรถจากฝั่งธนบุรี ผ่านจังหวัดสมุทรสาคร สิ้นสุดที่จังหวัดสมุทรสงคราม ซึ่งอยู่แยกกับเส้นทางหลักของการรถไฟฯ ขบวนรถที่วิ่งในสายนี้ จัดว่าเป็นขบวนรถธรรมดา ตามที่ระบบติดตามขบวนรถของการรถไฟระบุ[12] แต่หมายเลขขบวนรถจะมี 4 หลัก และขึ้นต้นด้วยเลข 4 (4XXX)[13][14][15][16] ได้แก่

ลำดับที่ หมายเลข ประเภทขบวนรถ เส้นทาง เที่ยว ต้นทาง ปลายทาง สถานะ
24 4302 ธรรมดา สายแม่กลอง (มหาชัย-วงเวียนใหญ่) ขึ้น มหาชัย วงเวียนใหญ่ เปิดให้บริการปกติ
4303 ธรรมดา สายแม่กลอง (มหาชัย-วงเวียนใหญ่) ล่อง วงเวียนใหญ่ มหาชัย
25 4304 ธรรมดา สายแม่กลอง (มหาชัย-วงเวียนใหญ่) ขึ้น มหาชัย วงเวียนใหญ่
4305 ธรรมดา สายแม่กลอง (มหาชัย-วงเวียนใหญ่) ล่อง วงเวียนใหญ่ มหาชัย
26 4306 ธรรมดา สายแม่กลอง (มหาชัย-วงเวียนใหญ่) ขึ้น มหาชัย วงเวียนใหญ่
4307 ธรรมดา สายแม่กลอง (มหาชัย-วงเวียนใหญ่) ล่อง วงเวียนใหญ่ มหาชัย
27 4308 ธรรมดา สายแม่กลอง (มหาชัย-วงเวียนใหญ่) ขึ้น มหาชัย วงเวียนใหญ่
4309 ธรรมดา สายแม่กลอง (มหาชัย-วงเวียนใหญ่) ล่อง วงเวียนใหญ่ มหาชัย
28 4310 ธรรมดา สายแม่กลอง (มหาชัย-วงเวียนใหญ่) ขึ้น มหาชัย วงเวียนใหญ่
4311 ธรรมดา สายแม่กลอง (มหาชัย-วงเวียนใหญ่) ล่อง วงเวียนใหญ่ มหาชัย
29 4312 ธรรมดา สายแม่กลอง (มหาชัย-วงเวียนใหญ่) ขึ้น มหาชัย วงเวียนใหญ่
4313 ธรรมดา สายแม่กลอง (มหาชัย-วงเวียนใหญ่) ล่อง วงเวียนใหญ่ มหาชัย
30 4314 ธรรมดา สายแม่กลอง (มหาชัย-วงเวียนใหญ่) ขึ้น มหาชัย วงเวียนใหญ่
4315 ธรรมดา สายแม่กลอง (มหาชัย-วงเวียนใหญ่) ล่อง วงเวียนใหญ่ มหาชัย
31 4316 ธรรมดา สายแม่กลอง (มหาชัย-วงเวียนใหญ่) ขึ้น มหาชัย วงเวียนใหญ่
4317 ธรรมดา สายแม่กลอง (มหาชัย-วงเวียนใหญ่) ล่อง วงเวียนใหญ่ มหาชัย
32 4320 ธรรมดา สายแม่กลอง (มหาชัย-วงเวียนใหญ่) ขึ้น มหาชัย วงเวียนใหญ่
4321 ธรรมดา สายแม่กลอง (มหาชัย-วงเวียนใหญ่) ล่อง วงเวียนใหญ่ มหาชัย
33 4322 ธรรมดา สายแม่กลอง (มหาชัย-วงเวียนใหญ่) ขึ้น มหาชัย วงเวียนใหญ่
4323 ธรรมดา สายแม่กลอง (มหาชัย-วงเวียนใหญ่) ล่อง วงเวียนใหญ่ มหาชัย
34 4324 ธรรมดา สายแม่กลอง (มหาชัย-วงเวียนใหญ่) ขึ้น มหาชัย วงเวียนใหญ่
4325 ธรรมดา สายแม่กลอง (มหาชัย-วงเวียนใหญ่) ล่อง วงเวียนใหญ่ มหาชัย
35 4326 ธรรมดา สายแม่กลอง (มหาชัย-วงเวียนใหญ่) ขึ้น มหาชัย วงเวียนใหญ่
4327 ธรรมดา สายแม่กลอง (มหาชัย-วงเวียนใหญ่) ล่อง วงเวียนใหญ่ มหาชัย
36 4328 ธรรมดา สายแม่กลอง (มหาชัย-วงเวียนใหญ่) ขึ้น มหาชัย วงเวียนใหญ่
4329 ธรรมดา สายแม่กลอง (มหาชัย-วงเวียนใหญ่) ล่อง วงเวียนใหญ่ มหาชัย
37 4340 ธรรมดา สายแม่กลอง (มหาชัย-วงเวียนใหญ่) ขึ้น มหาชัย วงเวียนใหญ่
4341 ธรรมดา สายแม่กลอง (มหาชัย-วงเวียนใหญ่) ล่อง วงเวียนใหญ่ มหาชัย
38 4342 ธรรมดา สายแม่กลอง (มหาชัย-วงเวียนใหญ่) ขึ้น มหาชัย วงเวียนใหญ่
4343 ธรรมดา สายแม่กลอง (มหาชัย-วงเวียนใหญ่) ล่อง วงเวียนใหญ่ มหาชัย
39 4344 ธรรมดา สายแม่กลอง (มหาชัย-วงเวียนใหญ่) ขึ้น มหาชัย วงเวียนใหญ่
4345 ธรรมดา สายแม่กลอง (มหาชัย-วงเวียนใหญ่) ล่อง วงเวียนใหญ่ มหาชัย
40 4346 ธรรมดา สายแม่กลอง (มหาชัย-วงเวียนใหญ่) ขึ้น มหาชัย วงเวียนใหญ่
4347 ธรรมดา สายแม่กลอง (มหาชัย-วงเวียนใหญ่) ล่อง วงเวียนใหญ่ มหาชัย
41 4380 ธรรมดา สายแม่กลอง (บ้านแหลม-แม่กลอง) ขึ้น แม่กลอง บ้านแหลม
4381 ธรรมดา สายแม่กลอง (บ้านแหลม-แม่กลอง) ล่อง บ้านแหลม แม่กลอง
42 4382 ธรรมดา สายแม่กลอง (บ้านแหลม-แม่กลอง) ขึ้น แม่กลอง บ้านแหลม
4383 ธรรมดา สายแม่กลอง (บ้านแหลม-แม่กลอง) ล่อง บ้านแหลม แม่กลอง
43 4384 ธรรมดา สายแม่กลอง (บ้านแหลม-แม่กลอง) ขึ้น แม่กลอง บ้านแหลม
4385 ธรรมดา สายแม่กลอง (บ้านแหลม-แม่กลอง) ล่อง บ้านแหลม แม่กลอง
44 4386 ธรรมดา สายแม่กลอง (บ้านแหลม-แม่กลอง) ขึ้น แม่กลอง บ้านแหลม
4387 ธรรมดา สายแม่กลอง (บ้านแหลม-แม่กลอง) ล่อง บ้านแหลม แม่กลอง

ขบวนรถชานเมือง

ขบวนรถชานเมืองจะใช้ขบวนรถทีเอชเอ็นและเอ็นเคเอฟ (ขบวนรถทีเอชเอ็น จอดอยู่สถานีกรุงเทพ(หัวลำโพง))

ขบวนรถชานเมือง (Commuter; ช-3XX)[2][9][17][18] เป็นขบวนรถที่จัดเดินเพื่อให้บริการแก่ผู้โดยสารในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล กับจังหวัดใกล้เคียงรัศมีไม่เกิน 150 กม. ได้แก่

มีวัตถุประสงค์เพื่อบริการให้ประชาชนใช้เดินทางไปทำงาน ศึกษาเล่าเรียน และติดต่อค้าขาย โดยขบวนรถจะมีความถี่ในการทำขบวนมากกว่าขบวนรถประเภทอื่น ๆ หยุดทุก ๆ สถานี และป้ายหยุดรถ ขบวนรถชานเมืองจะมีหมายเลข 3 หลัก และขึ้นต้นด้วยเลข 3 (3XX) ในปัจจุบันมีทั้งหมด 19 หมายเลข ได้แก่

ขบวนรถชานเมือง เที่ยวขึ้น
หมายเลข ประเภทขบวนรถ เส้นทาง ต้นทาง ปลายทาง สถานะ
301 ชานเมือง สายเหนือ กรุงเทพ (หัวลำโพง) ลพบุรี เปิดให้บริการปกติ
303 ชานเมือง สายเหนือ กรุงเทพ (หัวลำโพง) ลพบุรี
311 ชานเมือง สายเหนือ/สายตะวันออกเฉียงเหนือ กรุงเทพ (หัวลำโพง) รังสิต งดให้บริการ (พบข้อมูลในระบบ)[19]
313 ชานเมือง สายเหนือ/สายตะวันออกเฉียงเหนือ กรุงเทพ (หัวลำโพง) ชุมทางบ้านภาชี เปิดให้บริการ

เฉพาะวัน ทำงานราชการ

317 ชานเมือง สายเหนือ/สายตะวันออกเฉียงเหนือ กรุงเทพ (หัวลำโพง) ลพบุรี เปิดให้บริการปกติ
339 ชานเมือง สายตะวันออกเฉียงเหนือ กรุงเทพ (หัวลำโพง) ชุมทางแก่งคอย
341 ชานเมือง สายตะวันออกเฉียงเหนือ กรุงเทพ (หัวลำโพง) ชุมทางแก่งคอย
355 ชานเมืองพิเศษ สายใต้ กรุงเทพ (หัวลำโพง) สุพรรณบุรี
389 ชานเมืองพิเศษ สายตะวันออก กรุงเทพ (หัวลำโพง) ชุมทางฉะเชิงเทรา
391 ชานเมืองพิเศษ สายตะวันออก กรุงเทพ (หัวลำโพง) ชุมทางฉะเชิงเทรา
ขบวนรถชานเมือง เที่ยวล่อง
หมายเลข ประเภทขบวนรถ เส้นทาง ต้นทาง ปลายทาง สถานะ
302 ชานเมือง สายเหนือ ลพบุรี กรุงเทพ (หัวลำโพง) เปิดให้บริการปกติ
304 ชานเมือง สายเหนือ ลพบุรี กรุงเทพ (หัวลำโพง)
314 ชานเมือง สายเหนือ/สายตะวันออกเฉียงเหนือ ชุมทางบ้านภาชี กรุงเทพ (หัวลำโพง) เปิดให้บริการ

เฉพาะวัน ทำงานราชการ

318 ชานเมือง สายเหนือ/สายตะวันออกเฉียงเหนือ ลพบุรี กรุงเทพ (หัวลำโพง) เปิดให้บริการปกติ
340 ชานเมือง สายตะวันออกเฉียงเหนือ ชุมทางแก่งคอย กรุงเทพ (หัวลำโพง)
342 ชานเมือง สายตะวันออกเฉียงเหนือ ชุมทางแก่งคอย กรุงเทพ (หัวลำโพง)
356 ชานเมืองพิเศษ สายใต้ ชุมทางหนองปลาดุก กรุงเทพ (หัวลำโพง)
376 ชานเมือง สายเหนือ/สายตะวันออกเฉียงเหนือ/สายตะวันออก รังสิต หัวตะเข้ งดให้บริการ (ไม่พบข้อมูลในระบบ)[20]
388 ชานเมืองพิเศษ สายตะวันออก ชุมทางฉะเชิงเทรา กรุงเทพ (หัวลำโพง) เปิดให้บริการปกติ

ขบวนรถท้องถิ่น

ขบวนรถท้องถิ่น (Local; ถ-4XX)[2][9] เป็นขบวนรถที่จัดเดินเพื่อให้บริการแก่ผู้โดยสารระหว่างจังหวัด โดยมีต้นทางและปลายทางไม่ใช่สถานีภายในเขตกรุงเทพและปริมณฑล หยุดทุก ๆ สถานีและป้ายหยุดรถ เป็นขบวนรถที่มีราคาค่าโดยสารถูกที่สุด ขบวนรถท้องถิ่นจะมีหมายเลข 3 หลัก และขึ้นต้นด้วยเลข 4 (4XX) ในปัจจุบันมีทั้งหมด 23 ขบวน 46 หมายเลข ได้แก่

ขบวนรถท้องถิ่น
ลำดับที่ หมายเลข ประเภทขบวนรถ เส้นทาง เที่ยว ต้นทาง ปลายทาง สถานะ
1 401 ท้องถิ่น (ดีเซลราง) สายเหนือ ขึ้น ลพบุรี พิษณุโลก เปิดให้บริการปกติ
402 ท้องถิ่น (ดีเซลราง) สายเหนือ ล่อง พิษณุโลก ลพบุรี
2 403 ท้องถิ่น (ดีเซลราง) สายเหนือ ขึ้น พิษณุโลก ศิลาอาสน์
410 ท้องถิ่น (ดีเซลราง) สายเหนือ ล่อง ศิลาอาสน์ พิษณุโลก
3 405 ท้องถิ่น (ดีเซลราง) สายเหนือ ขึ้น ศิลาอาสน์ สวรรคโลก งดให้บริการชั่วคราว เหตุน้ำท่วม[21]
406 ท้องถิ่น (ดีเซลราง) สายเหนือ ล่อง สวรรคโลก ศิลาอาสน์
4 407 ท้องถิ่น (ดีเซลราง) สายเหนือ ขึ้น นครสวรรค์ เชียงใหม่ เปิดให้บริการปกติ
408 ท้องถิ่น (ดีเซลราง) สายเหนือ ล่อง เชียงใหม่ นครสวรรค์
5 409 ท้องถิ่น (ดีเซลราง) สายเหนือ ขึ้น อยุธยา ลพบุรี
304 ท้องถิ่น (ดีเซลราง) สายเหนือ ล่อง ลพบุรี อยุธยา
6 415 ท้องถิ่น (ดีเซลราง) สายตะวันออกเฉียงเหนือ ขึ้น นครราชสีมา หนองคาย
416 ท้องถิ่น (ดีเซลราง) สายตะวันออกเฉียงเหนือ ล่อง หนองคาย นครราชสีมา
7 417 ท้องถิ่น (ดีเซลราง) สายตะวันออกเฉียงเหนือ ขึ้น นครราชสีมา อุดรธานี
418 ท้องถิ่น (ดีเซลราง) สายตะวันออกเฉียงเหนือ ล่อง หนองคาย นครราชสีมา
8 419 ท้องถิ่น (ดีเซลราง) สายตะวันออกเฉียงเหนือ ขึ้น นครราชสีมา อุบลราชธานี
420 ท้องถิ่น (ดีเซลราง) สายตะวันออกเฉียงเหนือ ล่อง อุบลราชธานี นครราชสีมา
9 421 ท้องถิ่น (ดีเซลราง) สายตะวันออกเฉียงเหนือ ขึ้น นครราชสีมา อุบลราชธานี
422 ท้องถิ่น (ดีเซลราง) สายตะวันออกเฉียงเหนือ ล่อง อุบลราชธานี นครราชสีมา
10 423 ท้องถิ่น (ดีเซลราง) สายตะวันออกเฉียงเหนือ ขึ้น ลำชี สำโรงทาบ
424 ท้องถิ่น (ดีเซลราง) สายตะวันออกเฉียงเหนือ ล่อง สำโรงทาบ ลำชี
11 425 ท้องถิ่น (ดีเซลราง) สายตะวันออกเฉียงเหนือ ขึ้น ลำชี อุบลราชธานี
426 ท้องถิ่น (ดีเซลราง) สายตะวันออกเฉียงเหนือ ล่อง อุบลราชธานี ลำชี
12 427 ท้องถิ่น (ดีเซลราง) สายตะวันออกเฉียงเหนือ ขึ้น นครราชสีมา อุบลราชธานี
428 ท้องถิ่น (ดีเซลราง) สายตะวันออกเฉียงเหนือ ล่อง อุบลราชธานี นครราชสีมา
13 429 ท้องถิ่น (ดีเซลราง) สายตะวันออกเฉียงเหนือ ขึ้น นครราชสีมา ชุมทางบัวใหญ่
430 ท้องถิ่น (ดีเซลราง) สายตะวันออกเฉียงเหนือ ล่อง ชุมทางบัวใหญ่ นครราชสีมา
14 431 ท้องถิ่น (ดีเซลราง) สายตะวันออกเฉียงเหนือ ขึ้น ชุมทางแก่งคอย ขอนแก่น
432 ท้องถิ่น (ดีเซลราง) สายตะวันออกเฉียงเหนือ ล่อง ขอนแก่น ชุมทางแก่งคอย
15 433 ท้องถิ่น (ดีเซลราง) สายตะวันออกเฉียงเหนือ ขึ้น ชุมทางแก่งคอย ชุมทางบัวใหญ่
434 ท้องถิ่น (ดีเซลราง) สายตะวันออกเฉียงเหนือ ล่อง ชุมทางบัวใหญ่ ชุมทางแก่งคอย
16 437 ท้องถิ่น (ดีเซลราง) สายตะวันออกเฉียงเหนือ ขึ้น ชุมทางแก่งคอย ลำนารายณ์
438 ท้องถิ่น (ดีเซลราง) สายตะวันออกเฉียงเหนือ ล่อง ลำนารายณ์ ชุมทางแก่งคอย
17 439 ท้องถิ่น (ดีเซลราง) สายตะวันออกเฉียงเหนือ ขึ้น ชุมทางแก่งคอย ชุมทางบัวใหญ่
440 ท้องถิ่น (ดีเซลราง) สายตะวันออกเฉียงเหนือ ล่อง ชุมทางบัวใหญ่ ชุมทางแก่งคอย
18 445 ท้องถิ่น สายใต้ ขึ้น ชุมพร ชุมทางหาดใหญ่
446 ท้องถิ่น สายใต้ ล่อง ชุมทางหาดใหญ่ ชุมพร
19 451 ท้องถิ่น สายใต้ ขึ้น นครศรีธรรมราช สุไหงโก-ลก
452 ท้องถิ่น สายใต้ ล่อง สุไหงโก-ลก นครศรีธรรมราช
20 455 ท้องถิ่น สายใต้ ขึ้น นครศรีธรรมราช ยะลา
453 ท้องถิ่น สายใต้ ล่อง ยะลา สุไหงโก-ลก
21 463 ท้องถิ่น สายใต้ ขึ้น พัทลุง สุไหงโก-ลก
464 ท้องถิ่น สายใต้ ล่อง สุไหงโก-ลก พัทลุง
22 485 ท้องถิ่น ทางรถไฟสายน้ำตก ขึ้น ชุมทางหนองปลาดุก น้ำตก
486 ท้องถิ่น ทางรถไฟสายน้ำตก ล่อง น้ำตก ชุมทางหนองปลาดุก
23 489 ท้องถิ่น สายใต้ ขึ้น สุราษฎร์ธานี คีรีรัฐนิคม
490 ท้องถิ่น สายใต้ ล่อง คีรีรัฐนิคม สุราษฎร์ธานี

ขบวนรถท่องเที่ยว

ขบวนรถท่องเที่ยวเลขที่ 921 จอดที่ที่หยุดรถไฟเขื่อนป่าสักชลสิทธิ์

ขบวนรถท่องเที่ยว (Excursion; ท-9XX)[2] เป็นขบวนรถที่จัดเดินเพื่อให้บริการนักท่องเที่ยวในช่วงวันหยุดเสาร์-อาทิตย์ และวันหยุดราชการ จะหยุดรับ - ส่งผู้โดยสารเฉพาะสถานีที่มีแหล่งท่องเที่ยวเท่านั้น ขบวนรถท่องเที่ยวจะมีหมายเลข 3 หลักแต่บางขบวนอาจมี 4 หลัก และขึ้นต้นด้วยเลข 9 (9XX/9XXX) แต่บางขบวนอาจมีสี่หลัก ในปัจจุบันมีทั้งหมด 4 ขบวน 12 หมายเลข ได้แก่

ขบวนรถท่องเที่ยว
ลำดับที่ หมายเลข ประเภทขบวนรถ เส้นทาง เที่ยว ต้นทาง ปลายทาง
1 909 พิเศษท่องเที่ยว ทางรถไฟสายน้ำตก ขึ้น กรุงเทพ (หัวลำโพง) น้ำตกไทรโยคน้อย เปิดให้บริการในวันที่การรถไฟกำหนด
910 พิเศษท่องเที่ยว ทางรถไฟสายน้ำตก ล่อง น้ำตกไทรโยคน้อย กรุงเทพ (หัวลำโพง)
2 911 พิเศษท่องเที่ยว สายใต้ ขึ้น กรุงเทพ (หัวลำโพง) สวนสนประดิพัทธ์
912 พิเศษท่องเที่ยว สายใต้ ล่อง สวนสนประดิพัทธ์ กรุงเทพ (หัวลำโพง)
3 901 พิเศษท่องเที่ยว สายเหนือ/สายตะวันออกเฉียงเหนือ ขึ้น กรุงเทพ (หัวลำโพง) อยุธยา
902 พิเศษท่องเที่ยว สายเหนือ/สายตะวันออกเฉียงเหนือ ล่อง อยุธยา กรุงเทพ (หัวลำโพง)
907 พิเศษท่องเที่ยว สายใต้ ขึ้น กรุงเทพ (หัวลำโพง) นครปฐม
908 พิเศษท่องเที่ยว สายใต้ ล่อง นครปฐม กรุงเทพ (หัวลำโพง)
9901 พิเศษท่องเที่ยว สายตะวันออก ขึ้น กรุงเทพ (หัวลำโพง) ชุมทางฉะเชิงเทรา
9902 พิเศษท่องเที่ยว สายตะวันออก ล่อง ชุมทางฉะเชิงเทรา กรุงเทพ (หัวลำโพง)
4 921 พิเศษท่องเที่ยว สายตะวันออกเฉียงเหนือ ขึ้น กรุงเทพ (หัวลำโพง) เขื่อนป่าสักชลสิทธิ์
926 พิเศษท่องเที่ยว สายตะวันออกเฉียงเหนือ ล่อง เขื่อนป่าสักชลสิทธิ์ กรุงเทพ (หัวลำโพง)

ขบวนรถสินค้า

เป็นขบวนรถที่ใช้ในการขนส่งสินค้าจากอีกสถานีไปยังอีกสถานี ไม่จอดรับส่งผู้โดยสารและมีต้นทางปลายทางไม่เหมือนกันในแต่ละรอบ โดยขบวนรถสินค้าจะมีหมายเลข 3 หลัก และขึ้นต้นด้วยเลข 5-8 แล้วแต่ว่าขนส่งผ่านเส้นทางใด โดยมีการจำแนกดังนี้

ขบวนรถอื่น ๆ

เป็นขบวนรถไฟที่นอกเหนือจากที่กล่าวมาทั้งหมด อาจเป็นขบวนรถที่ใช้ในราชการ เช่น รถพิเศษทหาร เป็นต้น โดยจะมีหมายเลข 4 หลักขึ้นไป เช่น 1XXX

อ้างอิง

  1. "สารานุกรมไทยสำหรับเยาวชนฯ / เล่มที่ ๔ / เรื่องที่ ๗ รถไฟ / การกำหนดหมายเลขขบวนรถ". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2023-09-01. สืบค้นเมื่อ 2023-10-21.
  2. 2.0 2.1 2.2 2.3 2.4 2.5 2.6 "ประเภทขบวนรถโดยสาร การรถไฟแห่งประเทศไทย". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2023-08-31. สืบค้นเมื่อ 2023-10-21.
  3. SRT Tracking ระบบติดตามขบวนรถ ค้นหาขบวนที่ 3/4
  4. SRT Tracking ระบบติดตามขบวนรถ ค้นหาขบวนที่ 41/42
  5. SRT Tracking ระบบติดตามขบวนรถ ค้นหาขบวนที่ 76/77
  6. SRT Tracking ระบบติดตามขบวนรถ ค้นหาขบวนที่ 105/106
  7. SRT Tracking ระบบติดตามขบวนรถ ค้นหาขบวนที่ 145/146
  8. SRT Tracking ระบบติดตามขบวนรถ ค้นหาขบวนที่ 173/174
  9. 9.0 9.1 9.2 ระบบติดตามรถไฟ การรถไฟแห่งประเทศไทย
  10. SRT Tracking ระบบติดตามขบวนรถ ค้นหาขบวนที่ 285/286
  11. SRT Tracking ระบบติดตามขบวนรถ ค้นหาขบวนที่ 381/382
  12. ระบบติดตามขบวนรถ TRAIN TRACKING SYSTEM
  13. กำหนดเวลาเดินรถ สายวงเวียนใหญ่ - มหาชัย (ขบวนรถขาเข้า)
  14. กำหนดเวลาเดินรถ สายวงเวียนใหญ่ - มหาชัย (ขบวนรถขาออก)
  15. กำหนดเวลาเดินรถ สายบ้านแหลม - แม่กลอง (ขบวนรถขาเข้า)
  16. กำหนดเวลาเดินรถ สายบ้านแหลม - แม่กลอง (ขบวนรถขาออก)
  17. "ตารางเดินรถไฟ สถานีกรุงเทพและสถานีกลางกรุงเทพอภิวัฒน์" (PDF). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2023-08-31. สืบค้นเมื่อ 2023-10-21.
  18. "หน้าเว็ปไซต์ รวมตางรางเดินรถทั่วประเทศไทย". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2022-07-10. สืบค้นเมื่อ 2023-10-21.
  19. SRT Tracking ระบบติดตามขบวนรถ ค้นหาขบวนที่ 311
  20. SRT Tracking ระบบติดตามขบวนรถ ค้นหาขบวนที่ 376
  21. การรถไฟฯ ขยายคอสะพานเร่งการระบายน้ำ ช่วยเหลือประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากอุทกภัย ประกาศหยุดเดินขบวนรถท้องถิ่น 2 ขบวน เป็นการชั่วคราว[ลิงก์เสีย]
Kembali kehalaman sebelumnya