Share to:

 

กลุ่ม 7

กลุ่ม 7
กลุ่มเจ็ด
ชื่อย่อG7
ก่อนหน้ากลุ่ม 8 (G8) (ย้อนกลับ)
ก่อตั้ง25 March 1973
(51 ปีก่อน)
 (25 March 1973) ("กลุ่มหอสมุด")
การประชุมกลุ่ม 6 ครั้งที่ 1: 15 November 1975
(49 ปีก่อน)
 (15 November 1975)
ผู้ก่อตั้ง"กลุ่มหอสมุด":
การประชุมกลุ่ม 6 ครั้งที่ 1:
ก่อตั้งที่
ประเภทสมาคมอย่างไม่เป็นทางการ
วัตถุประสงค์การเมือง, เศรษฐกิจ
สาขาวิชาการเมืองระหว่างประเทศ
สมาชิก (2021)
7 (กับสหภาพยุโรป)
การให้ทุนชาติสมาชิก
เว็บไซต์g7germany.de
ชื่อในอดีต

กลุ่ม 7 (อังกฤษ: Group of Seven, G7) เป็นเวทีการเมืองระหว่างรัฐบาลที่ประกอบด้วยแคนาดา, ฝรั่งเศส, เยอรมนี, อิตาลี, ญี่ปุ่น, สหราชอาณาจักร และสหรัฐ กับสหภาพยุโรป มีการจัดระเบียบอย่างเป็นทางการตามค่านิยมพหุนิยมกับรัฐบาแบบมีผู้แทนร่วมกัน[1] ณ ค.ศ. 2020 รัฐสมาชิกกลุ่ม 7 มีความมั่งคั่งสุทธิทั่วโลกมากกว่าครึ่ง (ที่มากกว่า 200 ล้านล้านดอลลาร์สหรัฐ)[2] ผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศทั่วโลกที่ร้อยละ 32 ถึง 46[n 1] และร้อยละ 10 ของประชากรโลก (770 ล้านคน)[3] สมาชิกเป็นมหาอำนาจในกิจการโลกและรักษาความสัมพันธ์ทางการเมือง เศรษฐกิจ การทูต และการทหารที่ใกล้ชิดซึ่งกันและกัน

ผู้นำประเทศในกลุ่ม 7

สมาชิก หัวหน้ารัฐบาลทางการ ผู้นำรัฐบาล
 แคนาดา นายกรัฐมนตรี จัสติน ทรูโด
 ฝรั่งเศส ประธานาธิบดี แอมานุแอล มาครง
 เยอรมนี นายกรัฐมนตรี โอลัฟ ช็อลทซ์
 อิตาลี นายกรัฐมนตรี โจร์จา เมโลนี
 ญี่ปุ่น นายกรัฐมนตรี ฟูมิโอะ คิชิดะ
 สหราชอาณาจักร นายกรัฐมนตรี ริชี ซูแน็ก
 สหรัฐอเมริกา ประธานาธิบดี โจ ไบเดิน
 สหภาพยุโรป ประธานคณะมนตรียุโรป ชาร์ล มีแชล
ประธานคณะกรรมาธิการยุโรป อัวร์ซูลา ฟ็อน แดร์ ไลเอิน

การประชุมประจำปี

Host venues of G7 summits in North America
Host venues of G7 summits in Japan
วันที่ ประเทศ ผู้นำประธาน สถานที่จัด เว็บ
1 15 พ.ย.-17 พ.ย. 2518  ฝรั่งเศส วาเลรี ฌิสการ์ แด็สแต็ง ร็องบูแย
2 27 มิ.ย.-28 มิ.ย. 2519  สหรัฐอเมริกา เจอรัลด์ ฟอร์ด โดราโด, ปวยร์โตรีโก
3 7 พ.ค.-8 พ.ค. 2520  สหราชอาณาจักร เจมส์ คัลลาฮาน ลอนดอน
4 16 ก.ค.-17 ก.ค. 2521  เยอรมนีตะวันตก เฮ็ลมูท ชมิท บ็อน
5 28 มิ.ย.-29 มิ.ย. 2522  ญี่ปุ่น โอฮิระ มาซาโยชิ โตเกียว
6 22 มิ.ย.-23 มิ.ย. 2523  อิตาลี ฟรันเชสโก กอสซีกา เวนิส
7 20 ก.ค.-21. ก.ค. 2524  แคนาดา ปีแยร์ เออ. ทรูว์โด มอนทิเบลโล, เกแบ็ก
8 4 มิ.ย. -6 มิ.ย. 2525  ฝรั่งเศส ฟร็องซัว มีแตร็อง แวร์ซาย
9 28 พ.ค.-30 พ.ค. 2526  สหรัฐอเมริกา โรนัลด์ เรแกน วิลเลียมส์เบิร์ก, เวอร์จิเนีย
10 7 มิ.ย.-9 มิ.ย. 2527  สหราชอาณาจักร มาร์กาเร็ต เท็ตเชอร์ ลอนดอน
11 2 พ.ค.-4 พ.ค. 2528  เยอรมนีตะวันตก เฮ็ลมูท โคล บ็อน
12 4 พ.ค.-6 พ.ค. 2529  ญี่ปุ่น ยาซูฮิโระ นากาโซเนะ โตเกียว
13 8 พ.ค.-10 พ.ค. 2530  อิตาลี อามินโตเร ฟันฟานี เวนิส
14 19 มิ.ย.-21 มิ.ย. 2531  แคนาดา ไบรอัน มัลโรนี โทรอนโต
15 14 ก.ค.-16 ก.ค. 2532  ฝรั่งเศส ฟร็องซัว มีแตร็อง ปารีส
16 9 ก.ค.-11 ก.ค. 2533  สหรัฐอเมริกา จอร์จ เอช. ดับเบิลยู. บุช ฮิวสตัน, เท็กซัส
17 15 ก.ค.-17 ก.ค. 2534  สหราชอาณาจักร จอห์น เมเจอร์ ลอนดอน
18 6 ก.ค.-8 ก.ค. 2535  เยอรมนี เฮ็ลมูท โคล มิวนิก
19 7 ก.ค.-9 ก.ค. 2536  ญี่ปุ่น คิอิจิ มิยาซาวะ โตเกียว
20 8 ก.ค.-10 ก.ค. 2537  อิตาลี ซิลวีโอ แบร์ลุสโกนี เนเปิลส์
21 15 มิ.ย.-17 มิ.ย. 2538  แคนาดา ฌ็อง เครเตียง แฮลิแฟกซ์, โนวาสโกเชีย
- 19 มิ.ย.-20 มิ.ย. 2539
(Special summit on nuclear security)
 รัสเซีย บอริส เยลต์ซิน มอสโก
22 27 มิ.ย.-29 มิ.ย. 2539  ฝรั่งเศส ฌัก ชีรัก ลียง
23 20 มิ.ย.-22 มิ.ย. 2540  สหรัฐอเมริกา บิล คลินตัน เดนเวอร์, โคโลราโด [1]
24 15 พ.ค.-17 พ.ค. 2541
(การประชุมครั้งแรกในนาม กลุ่ม 8)
 สหราชอาณาจักร โทนี แบลร์ เบอร์มิงแฮม [2]
25 18 มิ.ย.-20 มิ.ย. 2542  เยอรมนี แกร์ฮาร์ท ชเรอเดอร์ โคโลญ
26 21 ก.ค.-23 ก.ค. 2543  ญี่ปุ่น โมริ โยชิโระ นาโงะ, โอกินาวะ

[3]

27 20 ก.ค.-22 ก.ค. 2544  อิตาลี ซิลวีโอ แบร์ลุสโกนี เจนัว

[4] เก็บถาวร 2005-12-31 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน

28 26 มิ.ย.-27 มิ.ย. 2545  แคนาดา ฌ็อง เครเตียง แคนะแนสกิส, แอลเบอร์ตา [5] เก็บถาวร 2006-11-18 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
29 2 มิ.ย.-3 มิ.ย. 2546  ฝรั่งเศส ฌัก ชีรัก เอวีย็อง-เล-แบ็ง [6] เก็บถาวร 2011-04-07 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
30 8 มิ.ย.-10 มิ.ย. 2547  สหรัฐอเมริกา จอร์จ ดับเบิลยู. บุช ซีไอแลนด์, จอร์เจีย [7] เก็บถาวร 2007-04-27 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
31 6 ก.ค.-8 ก.ค. 2548  สหราชอาณาจักร โทนี แบลร์ เกลนอีเกิลส์, สกอตแลนด์ [8] เก็บถาวร 2008-09-13 ที่ Library of Congress Web Archives
32 15 ก.ค. -17 ก.ค. 2549  รัสเซีย วลาดีมีร์ ปูติน สเตรลนา, เซนต์ปีเตอร์สเบิร์ก [9] เก็บถาวร 2015-04-21 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
33 6 มิ.ย.-8 มิ.ย. 2550  เยอรมนี อังเกลา แมร์เคิล ไฮลีเกินดัม,
เมคเลินบวร์ค-ฟอร์พ็อมเมิร์น
[10]
34 7 ก.ค. -9 ก.ค. 2551  ญี่ปุ่น ยะซุโอะ ฟุกุดะ โทยาโกะ ฮกไกโด
35 2552  อิตาลี ซิลวีโอ แบร์ลุสโกนี ลากวีลา, อาบรุซโซ
36 2553  แคนาดา สตีเฟน ฮาร์เปอร์ ฮันต์สวิลล์, ออนแทรีโอ
37 2554  ฝรั่งเศส นีกอลา ซาร์กอซี โดวีล, บัส-นอร์ม็องดี
38 2555  สหรัฐอเมริกา บารัก โอบามา แคมป์เดวิด
39 2556  สหราชอาณาจักร เดวิด แคเมอรอน
40 4 มิ.ย.-5 มิ.ย. 2557  สหภาพยุโรป ( เบลเยียม) แฮร์มัน ฟัน โรมเปย, ฌูแซ มานูแวล บาโรซู บรัสเซลส์
41 7 มิ.ย.-8 มิ.ย. 2558  เยอรมนี อังเกลา แมร์เคิล Schloss Elmau
42 26–27 พฤษภาคม 2559  ญี่ปุ่น ชินโซ อาเบะ Shima, จังหวัดมิเอะ
43 26–27 พฤษภาคม 2560  อิตาลี ปาโอโล เจนตีโลนี Taormina, Sicily
44 8–9 มิถุนายน 2561  แคนาดา จัสติน ทรูโด ลามาลแบ, เกแบ็ก (Charlevoix)
45 24–26 สิงหาคม 2562  ฝรั่งเศส แอมานุแอล มาครง บียาริตส์, Pyrénées-Atlantiques
46 ยกเลิก  สหรัฐอเมริกา (อยู่ในแผน) ดอนัลด์ ทรัมป์ (อยู่ในแผน) แคมป์เดวิด, แมริแลนด์ (อยู่ในแผน)
47 11–13 มิถุนายน 2564  สหราชอาณาจักร บอริส จอห์นสัน Carbis Bay, Cornwall, อังกฤษ
48 26–28 มิถุนายน 2565  เยอรมนี โอลัฟ ช็อลทซ์ Schloss Elmau, ไบเอิร์น
49 19–21 พฤษภาคม 2566  ญี่ปุ่น ฟูมิโอะ คิชิดะ ฮิโรชิมะ
50 TBD, 2567  อิตาลี โจร์จา เมโลนี TBD
51 TBD, 2568  แคนาดา TBD TBD

หมายเหตุ : ในปี 2557 เดิมเจ้าภาพในการประชุมคือ รัสเซีย โดย ประธานาธิบดี วลาดิมีร์ ปูติน แต่เหตุการณ์คาบสมุทรไครเมีย ทำให้เปลี่ยนสถานที่การประชุมที่กรุงบรัซเซลล์ ประเทศเบลเยี่ยม โดยมีสหภาพยุโรป เป็นเจ้าภาพแทน

ผู้นำประเทศและตัวแทนสหภาพยุโรปในกลุ่ม 7 (ณ ค.ศ. 2023)

ดูเพิ่ม

หมายเหตุ

  1. ขึ้นอยู่กับว่าใช้ค่าโดยเฉลี่ยหรือภาวะเสมอภาคของอำนาจซื้อแบบใด

อ้างอิง

  1. "What is the G7?". G7 UK Presidency 2021 (ภาษาอังกฤษแบบบริติช). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 25 December 2021. สืบค้นเมื่อ 12 June 2021.
  2. "Global Wealth Databook 2021" (PDF). Credit Suisse. credit-suisse.com. 2021. Table 4-1. p. 130. สืบค้นเมื่อ 20 December 2021.
  3. "The G7: Frequently Asked Questions". France Diplomacy – Ministry for Europe and Foreign Affairs. 26 August 2019. สืบค้นเมื่อ 12 June 2021.

แหล่งข้อมูลอื่น

Kembali kehalaman sebelumnya