การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป กันยายน พ.ศ. 2535 การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป กันยายน พ.ศ. 2535
| | | ทั้งหมด 360 ที่นั่งในรัฐสภาไทย ต้องการ 181 ที่นั่งจึงเป็นฝ่ายข้างมาก |
---|
ลงทะเบียน | 31,860,156 |
---|
ผู้ใช้สิทธิ | 61.59% ( 2.35) |
---|
|
First party
|
Second party
|
Third party
|
|
|
|
|
ผู้นำ
|
ชวน หลีกภัย
|
ประมาณ อดิเรกสาร
|
ชาติชาย ชุณหะวัณ
|
พรรค
|
ประชาธิปัตย์
|
ชาติไทย
|
ชาติพัฒนา (พ.ศ. 2535)
|
เขตของผู้นำ
|
26 มกราคม 2534
ตรัง เขต 1
|
3 กรกฏาคม 2535
สระบุรี เขต 1
|
23 มิถุนายน 2535
นครราชสีมา เขต 1
|
เลือกตั้งล่าสุด
|
44 ที่นั่ง, 10.57%
|
74 ที่นั่ง, 16.41%
|
1 ที่นั่ง, 0.36%
|
ที่นั่งที่ชนะ
|
79
|
77
|
60
|
ที่นั่งเปลี่ยน
|
35
|
3
|
59
|
คะแนนเสียง
|
9,703,672
|
7,274,474
|
7,332,388
|
%
|
21.02
|
15.76
|
15.88
|
%เปลี่ยน
|
10.45 จุด
|
0.65 จุด
|
15.52 จุด
|
|
|
Fourth party
|
Fifth party
|
Sixth party
|
|
|
|
|
ผู้นำ
|
ชวลิต ยงใจยุทธ
|
จำลอง ศรีเมือง
|
มนตรี พงษ์พานิช
|
พรรค
|
ความหวังใหม่
|
พลังธรรม
|
กิจสังคม
|
เขตของผู้นำ
|
16 ตุลาคม 2533
นนทบุรี เขต 1
|
9 มิถุนายน 2531
กรุงเทพมหานคร เขต 2
|
9 มิถุนายน 2534
อยุธยา เขต 1
|
เลือกตั้งล่าสุด
|
72 ที่นั่ง, 22.42%
|
41 ที่นั่ง, 11.47%
|
31 ที่นั่ง, 8.06%
|
ที่นั่งที่ชนะ
|
50
|
47
|
22
|
ที่นั่งเปลี่ยน
|
22
|
6
|
9
|
คะแนนเสียง
|
6,576,092
|
8,293,457
|
1,863,360
|
%
|
14.24
|
17.96%
|
4.04
|
%เปลี่ยน
|
8.18 จุด
|
6.49 จุด
|
4.02 จุด
|
|
ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร รหัสสี: ประชาธิปัตย์, ชาติไทย, ชาติพัฒนา, ความหวังใหม่, พลังธรรม, กิจสังคม, เอกภาพ, อื่น ๆ แต่ละจังหวัดอาจประกอบด้วยที่นั่งเดียวหรือหลายที่นั่งก็ได้ โดยสีที่ปรากฏนี้บ่งบอกถึงพรรคที่ได้ที่นั่งมากที่สุดในจังหวัดนั้น |
|
การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป กันยายน พ.ศ. 2535 หรือที่นิยมเรียกกันสั้น ๆ ว่า 2535/2 มีขึ้นเมื่อวันที่ 13 กันยายน พ.ศ. 2535 พรรคประชาธิปัตย์ได้ 79 ที่นั่ง จากทั้งหมด 360 ที่นั่ง ไม่ถึงกึ่งหนึ่งของสภาจึงต้องตั้งรัฐบาลผสม ผู้มีสิทธิเลือกตั้งคิดเป็น 61.6%[1]
การเลือกตั้งครั้งนั้นนับการเลือกตั้งครั้งหนึ่งที่ผู้คนตื่นตัวเป็นอย่างมาก เพราะเป็นการเลือกตั้งครั้งแรกหลังเหตุการณ์พฤษภาทมิฬ ที่เกิดขึ้นมาก่อนหน้านั้น นับเป็นการสิ้นสุดของอำนาจเผด็จการทหาร โดย คณะรักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติ (รสช.) ที่เข้ามาด้วยการรัฐประหารในวันเสาร์ที่ 23 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2534
ผลการเลือกตั้ง พรรคประชาธิปัตย์ ที่ถือเป็นพรรคฝ่ายค้านที่คัดค้านการดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีของ พลเอก สุจินดา คราประยูร สมาชิกของคณะ รสช. ที่มิได้มาจากการเลือกตั้ง ได้รับชัยชนะ ด้วยคะแนนเสียงที่ได้มาเป็นลำดับที่หนึ่ง ด้วยจำนวน 79 เสียง จึงเป็นแกนนำในการจัดตั้งรัฐบาล ซึ่งผสมด้วยพรรคการเมืองอีก 4 พรรค คือ พรรคความหวังใหม่, พรรคพลังธรรม, พรรคเอกภาพ และพรรคกิจสังคม มีจำนวนผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้งทั้งหมดร้อยละ 42 นับว่ามากกว่าการเลือกตั้งก่อนหน้านั้น เมื่อเดือนมีนาคม ราวร้อยละ 5 มีจำนวนบัตรเสียคิดเป็นร้อยละ 1.27 และมีการรณรงค์การเลือกตั้งครั้งนั้นมิให้มีการทุจริต โดยคณะกรรมการองค์กรกลาง ใช้คำขวัญที่ว่า "ขายเสียง ขายสิทธิ เหมือนขายชีวิต ขายชาติ"[2] การเลือกตั้งครั้งนี้เป็นครั้งล่าสุดที่พรรคประชาธิปัตย์ชนะการเลือกตั้ง
ผลการสำรวจ
ระยะเวลา
การสำรวจ
|
องค์กรที่สำรวจ
|
ชวน
|
จำลอง
|
ชาติชาย
|
ชวลิต
|
20 สิงหาคม-
2 กันยายน
|
นิด้าโพล[1]
|
25.7
|
30.0
|
14.4
|
5.6
|
2 กันยายน
|
นิยมโพล[2]
|
31.6
|
24.9
|
22.7
|
15.0
|
ผลการเลือกตั้ง
ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจากพรรคที่สังกัด ณ วันที่ได้รับเลือกตั้ง
ก • ค
ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป กันยายน พ.ศ. 2535
พรรค
|
คะแนนเสียง
|
%
|
ที่นั่ง
|
|
ประชาธิปัตย์
|
9,703,672
|
21.02
|
|
|
ชาติไทย
|
7,274,474
|
15.76
|
|
|
ชาติพัฒนา
|
7,332,388
|
15.88
|
|
|
ความหวังใหม่
|
6,576,092
|
14.24
|
|
|
พลังธรรม
|
8,293,457
|
17.96
|
|
|
กิจสังคม
|
1,863,360
|
4.04
|
|
|
เสรีธรรม
|
|
|
|
|
เอกภาพ
|
|
|
|
|
มวลชน
|
|
|
|
|
ประชากรไทย
|
|
|
|
|
ราษฎร
|
|
|
|
คะแนนสมบูรณ์
|
|
100
|
360
|
|
คะแนนเสีย
|
|
|
ไม่ประสงค์ลงคะแนน
|
จำนวนผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง
|
|
จำนวนผู้มีสิทธิเลือกตั้ง
|
|
|
ที่มา: [3]
|
อ้างอิง
ดูเพิ่ม
|
---|
ลำดับเหตุการณ์กราฟิก พ.ศ. 2475–2516 |
---|
|
| ลำดับเหตุการณ์กราฟิก พ.ศ. 2516–2544 |
---|
|
| ลำดับเหตุการณ์กราฟิก พ.ศ. 2544–ปัจจุบัน |
---|
ลำดับเหตุการณ์ประวัติศาสตร์การเมืองไทย พ.ศ. 2544–ปัจจุบัน แถวแรก: = รัฐประหาร (คลิกเพื่อดูบทความ), การเลือกตั้งทั่วไป (คลิกเพื่อดูบทความ); แถวสอง: รายชื่อนายกรัฐมนตรี; แถวสาม: รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับที่)
นายกรัฐมนตรีจากรัฐประหาร |
| |
---|
| | ตัวเอียง หมายถึง ฉบับชั่วคราว |
|
| | เหตุการณ์สำคัญทางการเมือง |
---|
|
|
|